Page 49 - สงขลา
P. 49

49








                  ประวัติอ าเภอหาดใหญ่






                                                                  ี่
                                                                                                                                        ี่
                                          ในสมัยรัชกาลท ๕ กระทรวงคมนาคมได้ประกาศเวนคืนทดิน

                         ส่วนหนึ่ง (ที่ตั้งของบ้านพักรถไฟในปัจจุบัน) เพื่อตัดทางรถไฟผ่านไปปา


                         ดังเบซาร์ แหลมมาลายู และสิงคโปร์ ชาวบ้านครอบครัวหนึ่งคือนายง่วง



                         นางซีด้วง สะระ ได้รื้อย้ายหามเรือนไห ตั้งอยู่บริเวณที่ตั้งของ โรงแรมวัง


                         น้อย (ใกล้สี่แยกถนนดวงจันทร์-ถนนแสงจันทร์) ชาวบ้านในสมัยนั้นเรียก



                         บริเวณแถบนี้ว่าบ้านโคกบก เป็นบ้านรกร้างมานานหลายสิบปี ผู้บุกเบิกป่า


                         บ้านโคกบกมาก่อนคือ นายเพ็ชร แก้วไชยวงศ์ และนายสัก บุญมี ในช่วง



                         เวลาอันไล่เลี่ยกันนี้ชาวบ้านจากบ้านต่าง ๆ พากันบุกเบิกป่าอีก หลายแห่ง


                         เช่น แถบบริเวณวัดมงคลเทพาราม หรือวัดปากน้ า ถนนแสงศรี หรือใน



                         สมัยก่อนเรียกว่า ปลักโต้พุดทอง และปลักจันเหร็ง มีสภาพเป็นหนองเป็น


                         ป่าลึกมาก บรรพบุรุษรุ่นก่อนได้ช่วยกันบุกเบิก แหล่งรกร้างพัฒนาแหล่ง



                         ท ากินไว้ให้ กับชนรุ่นหลังได้รับผลประโยชน์อย่างมหาศาล


                                      คลองเตยเป็นคลองสายเก่าแก่ที่สุดของนครหาดใหญ่ เมื่อกว่า ๘๐



                         ปีก่อน คลองเตยยังเป็นคลองน้ าลึกและกว้างมาก มีพันธุ์ไม้นานาชนิด ทั้ง


                         ไม้ล้มลุกและไม้ยืนต้น มีสัตว์น้ าต่าง ๆ เช่น ปลา เต่า ตะพาบน้ า หอย



                         โข่ง และอื่น ๆ อาศัยอยู่มากมาย ส่วนริมฝั่งคลองเตยทั้ง ๒ ฝั่ง มีต้นไม้


                         ใหญ่เรียงราย โดยเฉพาะต้นไผ่ป่าขึ้นเรียงเป็นแถวเป็นแนว เหมือนก าแพงทั้ง



                         ๒        ฝั่งคลอง            คลองสายนี้มีต้นน้ ามาจากทางด้านตะวันออก                                   ไหลเข้าสู่


                         ทางด้านใต้ ของสถานีรถไฟหาดใหญ่
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54