Page 101 - รายงานประจำปี ๒๕๖๐ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
P. 101
ส่วนที่ 1 ประกอบด้วย 5 ระดับ กําหนดให้ทุกส่วนงานของมหาวิทยาลัยใช้รูปแบบเดียวกัน ดังนี้ 1) บัญชีหลัก/หมวด 2) ประเภท
3) กลุ่ม/รายการหน้างบ 4) บัญชีคุม 5) บัญชีย่อย
ส่วนที่ 2 ผังภายในของส่วนงาน มี 3 ระดับ (ระดับ 6, 7 และ 8) เป็นระดับที่อนุญาตให้แต่ละส่วนงานของมหาวิทยาลัยสามารถ
กําหนดชื่อบัญชีและรหัสข้อมูลของส่วนงานเองโดยอิสระ เช่น อาจจะกําหนดเป็น ระดับส่วนงาน ระดับส่วนงานภายใน หรือระดับหลักสูตร
และเทียบเท่า เป็นต้น
ส่วนรูปแบบการรายงานงบการเงินน้นมหาวิทยาลัยกําหนดรูปแบบการรายงานงบการเงินออกเป็น 2 รูปแบบ ดังน 1) รูปแบบรายงาน
ั
ี
้
งบการเงินในระดับมหาวิทยาลัย โดยกําหนดรูปแบบรายงานงบการเงินให้มีหมายเหตุประกอบงบการเงิน แสดงข้อมูลสรุปในภาพรวมของ
มหาวิทยาลัย ไว้เพียง 5 ระดับแรก 2) รูปแบบรายงานงบการเงินระดับส่วนงาน กําหนดรูปแบบรายงานงบการเงินให้มีหมายเหตุประกอบ
งบการเงิน แสดงข้อมูลสรุปได้ถึงระดับที่ 8 (โดยขึ้นกับการกําหนดระดับภายในส่วนงานนั้นๆ หากไม่ได้กําหนดรูปแบบรายงานจะเหมือนกับ
รายงานในระดับมหาวิทยาลัย)
ดังนั้นภายใต้ผังบัญชีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์จึงได้กําหนดรายรหัสและคําอธิบายในผังบัญชี ไว้เพียง 5 ระดับ ส่วนรายละเอียด
ของแต่ละรหัสข้อมูล ในระดับที่ 6-8 มหาวิทยาลัยกําหนดให้ส่วนงานเป็นผู้กําหนด เพิ่มเติม แก้ไข ปรับปรุง และควบคุมการใช้งานในแต่ละ
ส่วนงานเอง โดยส่วนงานจะต้องจัดทําคู่มือและรายละเอียดของรหัสข้อมูล ในระดับที่ 6-8 ไว้อย่างชัดเจน ทั้งนี้มหาวิทยาลัยจะกําหนดรหัส
ข้อมูลที่สําคัญที่สามารถใช้งานร่วมกันได้ ได้แก่ รหัสวิทยาเขต รหัสปีบัญชี รหัสส่วนงาน รหัสส่วนงานภายใน รหัสหลักสูตรรหัสรายบุคคล
รหัสแหล่งเงิน และรหัส GFMIS เป็นต้น
4. การประเมินการดําเนินงานบริหารในรูปแบบกรรมการสภาวิทยาเขต
ั
โดยคณะกรรมการประเมินผลการดําเนินงานในรูปแบบกรรมการสภาวิทยาเขต (ตามคําส่งมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ์
ที่ 050/2558) โดยกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาประกอบด้วยกรรมการสภาวิทยาเขตทั้ง 5 วิทยาเขต ที่เป็นกรรมการผู้ทรง คุณวุฒิ กรรมการและ
ฝ่ายเลขานุการ ที่เป็นองค์ประชุมของที่ประชุมสภาวิทยาเขต และผู้ที่เกี่ยวข้อง/มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมจํานวนทั้งหมด 86 คน หรือวิทยาเขตละ 18 คน
ใช้การเก็บข้อมูลจากแบบสัมภาษณ์และการสนทนาใช้การวิเคราะห์เนื้อหาเป็นหลัก โดยมีระยะเวลาดําเนินการ พฤศจิกายน 2558 – ตุลาคม 2559
ผลการประเมินในภาพรวมพบว่า
4.1 การวางระบบบริหารในรูปแบบกรรมการสภาวิทยาเขต
ี
ึ
ึ
มีข้อดี/ผลด คือ ทําให้ระบบการบริหารวิทยาเขตชัดเจนเป็นระบบมากข้น มีอํานาจเบ็ดเสร็จในระดับหน่ง โดยจะมีวาระนโยบาย
แผนการพัฒนาและยุทธศาสตร์การพัฒนาเฉพาะพื้นที่ในแต่ละวิทยาเขต ทิศทางการวิจัย การจัดการเรียนการสอน และจุดเน้นวิทยาเขตตาม
พ้นท ผ้เข้าร่วมประชุมสามารถเตรียมข้อมูลต่าง ๆ ได้อย่างครอบคลุมมาอธิบาย ชัดเจน ตรงประเด็น การมีประธานสภาวิทยาเขตท่เป็น
ี
่
ี
ู
ื
กรรมการสภาผู้ทรงคุณวุฒิของสภามหาวิทยาลัย เป็นที่ยอมรับและวางใจของสภามหาวิทยาลัย รวมทั้งการมีกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในพื้นที่
100
101
101
P S U Annual Report 2017
P S U Annual Report 2017 P S U Annual Report 2017 101101