Page 100 - รายงานประจำปี ๒๕๖๐ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
P. 100
ส่วนงานสามารถนําเข้าข้อมูลตามผังบัญชีเพ่อให้มหาวิทยาลัย คณะ/ส่วนงานสามารถจัดทํารายงานในแต่ละส่วนงาน ภาพรวมวิทยาเขต และ
ื
มหาวิทยาลัย
1.3 วัตถุประสงค์
ื
ื
ี
1) เพ่อให้มีผังบัญชีมาตรฐานท่ถือเป็นเคร่องมือใช้ในการจําแนกข้อมูลทางการเงินให้เป็นมาตรฐานเดียวกันในทุกส่วนงานของ
มหาวิทยาลัย โดยจัดกล่มรายการทางการเงินท่มีลักษณะคล้ายคลึงกันไว้ด้วยกัน ซ่งจะทําให้ส่วนงานสามารถรายงานข้อมูลในรูปแบบ
ี
ุ
ึ
งบการเงินที่เป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจของผู้บริหารมหาวิทยาลัยและผู้บริหารส่วนงานได้สะดวกและรวดเร็ว
ั
ี
้
ี
ื
่
ื
2) เพ่อใหมผังบัญชีมาตรฐานทสอดรบกบผังบัญชีมาตรฐานเพ่อใช้ในการบริหารระบบการเงินการคลงภาครฐแบบอิเล็กทรอนิกส ์
ั
ั
ั
(GFMIS)
3) เพ่อให้มหาวิทยาลัยได้กําหนดรูปแบบและแนวทางในการจัดทํางบการเงินให้เป็นมาตรฐานและรูปแบบเดียวกันทุกส่วนงานภายใน
ื
มหาวิทยาลัย และรองรับการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีของมหาวิทยาลัยตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2559 ตาม
ระยะเวลาที่กฎหมายกําหนด
4) เพื่อรองรับการพัฒนาหรือจัดหาระบบสารสนเทศทางบัญชีและการเงินของมหาวิทยาลัย และส่วนงานต่าง ๆ ได้ในอนาคต
1.4 สาระสําคัญของผังบัญชีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
โดยการออกแบบผังบัญชีของมหาวิทยาลัยและส่วนงาน จะต้องคํานึงถึงสภาพการใช้งาน การท่กําหนดผังบัญชีจะต้องกําหนดให้ม ี
ี
ื
ั
ึ
ี
มาตรฐานน้นจะเป็นเคร่องมือท่สําคัญประการหน่งในการจัดเก็บข้อมูลของทุกส่วนงานภายในมหาวิทยาลัยไปในรูปแบบเดียวกัน ย่อมทําให ้
ื
ี
ี
ต้องมีการพัฒนาระบบบัญชีของมหาวิทยาลัยดําเนินการได้อย่างต่อเน่อง และทันต่อสถานการณ์ความต้องการใช้ข้อมูลท่เปล่ยนแปลงไป
ทั้งในระดับมหาวิทยาลัยและระดับส่วนงานต่าง ๆ โดยจะต้องสามารถให้ส่วนงานภายในมหาวิทยาลัยมีความยืดหยุ่นในการกําหนดผังบัญชี
ของแต่ละส่วนงานเองโดยอิสระในระดับหนึ่ง และสอดรับกับผังบัญชีมาตรฐานอื่น ๆ ดังนั้นมหาวิทยาลัยจึงกําหนดผังบัญชีของมหาวิทยาลัย
และส่วนงาน เป็น 2 ส่วน เพื่อให้รองรับการทํางานทั้ง 8 ระดับ ดังนี้
100
100
P S U Annual Report 2017 P S U Annual Report 2017 101 101
P S U Annual Report 2017