Page 21 - ว่าวมลายู
P. 21
14
มาติดตัวว่าววงเดือน จากนั้นน ากระดาษสีที่แกะเป็นลวดลายต่างๆ ให้สวยงามมาติดทับลงบนกระดาษ
ี
ั
บางอกชั้น น ากระดาษบางหลายๆ สีท าเป็นภู่แล้วพนที่คอว่าวแล้วผูกเชือก (ตือราญู) น าออกทดลอง
ปล่อยให้ลอยบนท้องฟ้า
ลุงมะรอเซะยอมรับว่า ศิลปแขนงนี้ ได้สร้างความภาคภูมิใจให้แก่ลุงอย่างมาก เพราะ
นอกจากจะสร้างรายได้แล้ว ยังเป็นการสืบสานเอกลักษณ์ของคนปลายด้ามขวานให้คงอยู่ผ่าน
การละเล่นในยามหน้าร้อนซึ่งปีหนึ่งมีเพยงครั้งเดียวเท่านั้น จากข้อความดังกล่าวสรุปได้ว่า ว่าวเป็น
ี
การละเล่นที่สามารถหาอปกรณ์ได้ง่าย แต่มันก็มีสิ่งหนึ่งที่ควรใส่ใจก็คือเรื่องของการเลือกวัสดุที่มี
ุ
ื่
คุณภาพมาประกอบการท าว่าว เพอให้ว่างสามารถทรงตัวอยู่บนอากาศได้อย่างสวยงาม การ
สร้างสรรค์ว่าวได้ตามแบบฉบับชาวมุสลิมเดิม ซึ่งถือเป็นสิ่งดีเพราะนี่คือหนึ่งในอตลักษณ์ที่สะท้อน
ั
ตัวตนตามแบบฉบับของวิถีคนท้องถิ่นแห่งนี้โดยเฉพาะว่าววงเดือน
( สุพิชฌาย์ รัตนะ, 2555 : ออนไลน์ )
กลุ่มอนุรักษ์ศิลปะว่าวมลายู
ภาพประกอบที่ 2.5 แสดงภาพกลุ่มอนุรักษ์ว่าวมลายู
สืบค้นจาก https://www.google.co.th
ชาวบ้านยะลารวมกลุ่มคนรักว่าว เปิดต านานการท าว่าวเบอร์อามัส หวังอนุรักษ์
ศิลปวัฒนธรรมชาวมลายูให้ลูกหลานได้สืบทอด