Page 20 - ว่าวมลายู
P. 20

13







                              ว่าววงเดือนเสน่ห์ศิลปะมลายู

                              'ว่าววงเดือน' เสน่ห์ศิลปะมลายู - 'งานท ามือ' อนุรักษ์การละเล่น  ยามหน้าร้อนมาเยือน ภาพ

                       การละเล่นอย่างหนึ่งที่มีให้เห็นกันทั่วทุกภูมิภาคนั่นคือ “การเล่นว่าว”    ที่แต่ละท้องถิ่นได้ประดิษฐ์
                       แล้วน าออกมาล้อลมในแบบที่ต่างกันไป ทั้งว่าวจุฬา ว่าวปักเป้า ว่าวงู ในที่สุดจากกิจกรรมก็พลิกผันสู่
                       การสร้างรายได้ชนิดเป็นกอบเป็นก า ดัง “มะรอเซะ มะรอปิ”  ชายมุสลิมวัย 74 ปี แห่งบ้านเลขที่43
                       หมู่ 5 ต.ลุโบะบาบะ อ.ยี่งอ จ.นราธิวาส ที่ใช้เวลาว่างจากการท าสวนยาง ผลิตว่าวมากมาย

                       โดยเฉพาะ "ว่าววงเดือน” งานศิลปะที่รับอารยธรรมมลายู และถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นจนถึงปัจจุบัน

                              ลุงมะรอเซะ ขณะนั่งเหลาไม้ไผ่เตรียมท าโครงว่าววงเดือนไว้ส าหรับรับหน้าร้อนปีนี้ เล่าให้ฟง
                                                                                                         ั
                                                                                               ื่
                       ว่า การเล่นว่าวของคนภาคใต้ โดยเฉพาะใน 3 จังหวัดชายแดน จะไม่ค่อยเหมือนที่อน เพราะที่นี่
                       นอกจากจะประชันว่าว่าวใครลอยได้สูงสุดบนน่านฟาแล้ว ยังจะต้องมีการตัดและตกแต่งลวดลายใน
                                                                  ้
                       การประดับบนตัวว่าวให้มีความวิจิตรงดงาม โดยเฉพาะลวดลายประจ าถิ่น และที่ส าคัญตัวว่าวต้องมี
                       ขนาดใหญ่พร้อมทั้งต้องใส่ 'แอกว่าว'    ซึ่งมีลักษณะคล้ายคันธนู เพอให้ว่าวมีเสียงดังกังวาลยามที่ถูก
                                                                              ื่
                       ปล่อยให้ลอยบนท้องฟ้า

                               ส าหรับเทคนิคความรู้เกี่ยวกับการท าว่าว ลุงมะรอเซะบอกว่า ได้รับการถ่ายทอดจากบรรพ
                       บุรุษ ซึ่งในพนที่มีหลายคนที่เปี่ยมล้นด้วยความสามารถในการรังสรรค์ว่าวได้ตามแบบฉบับชาวมลายู
                                 ื้
                                                       ั
                       เดิม ซึ่งถือเป็นสิ่งดี เพราะนี่คือหนึ่งในอตลักษณ์ที่สะท้อนตัวตนตามแบบฉบับของวิถีคนท้องถิ่นแห่งนี้
                       โดยเฉพาะ "ว่าววงเดือน"

                              ทั้งนี้ ตามต านานในสมัยก่อนเล่าสืบต่อกันมาว่า “ว่าววงเดือน”  เป็นของเล่นเทวดา (แด

                       วอมูดอ) โดยผู้ที่ให้ว่าวแก่แดวอมูดอคือพระบิดาของพระราม (รายอสรามอ) ชื่อซีระห์มะห์รายอ จึงท า
                       ให้ว่าววงเดือนมีรูปเทวดา ทั้งนี้ ว่าววงเดือนมีหลายชนิดมีหลายรูปแบบ และมีการเล่นกันแพร่หลายใน
                       พื้นที่ภาคใต้ แต่ในพื้นที่ 3 จังหวัดจะมีการเน้นความสวยงาม รวมทั้งประเภทเสียงดัง ประเภทขึ้นสูง ที่
                       ส าคัญปัจจุบันมีการจัดท าเพื่อจ าหน่ายในรูปแบบของที่ระลึกอีกด้วย


                              “ว่าวที่ท าส่วนใหญ่จะน าออกขายในงานเทศกาลต่างๆ ที่ จ.นราธิวาสจัดขึ้นโดยในช่วงหน้า
                                                  ั
                       ร้อนแต่ละปีจะมีรายได้หลายพนบาท ซึ่งถือเป็นช่วงเวลาที่ช่วยให้ชาวบ้านมีเงินเข้ามาจุนเจือ
                       ครอบครัวหลังจากเสร็จสิ้นฤดูกาลเก็บเกี่ยวในพื้นที่” ลุงมะรอเซะกล่าว


                               ส าหรับขั้นตอนการท าว่าววงเดือนแบบง่ายๆ ลุงมะรอเซะบอกให้ฟังว่า อปกรณ์ต่างๆ ในการ
                                                                                         ุ
                       ท าหาได้ทั่วไป และท าได้ไม่ยาก แต่ที่ยากและส าคัญอยู่ที่ขั้นตอนการท าที่ต้องอาศัยใจรักและความ
                       ประณีตในการท าโครงสร้างแต่ละชิ้นที่ต้องใส่ใจ ซึ่งจ าเป็นต้องอาศัยประสบการณ์ท าบ่อยๆ จึงจะ


                       ได้ผลดังที่ต้องการ แต่หากใครสนใจจะทดสอบฝีมือก็สามารถทาได้
                                                ุ
                              โดยเริ่มจากหาวัสดุอปกรณ์ที่ส่วนใหญ่หาได้ในท้องถิ่นทั้ง ไม้ไผ่ เชือกผูกตัวว่าว มีดเหลา
                       กระดาษว่าว กระดาษสี สายป่าน มีด และ กาว จากนั้นเข้าสู่กระบวนการผลิต โดยน าไม้ไผ่ที่เตรียมไว้

                       เหลาให้ได้ขนาดตามที่ต้องการ ก่อนขึ้นโครงว่าววงเดือนด้วยไม้ไผ่แล้วผูกมัดด้วยเชือก น ากระดาษบาง
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25