ระบบสารสนเทศ

1. Happy Print

Innovator         : สมพงศ์ หุตะจูทะ

วันที่ดำเนินการ :  2548

       สำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร ได้เปิดให้บริการงานพิมพ์คอมพิวเตอร์ในปี พ.ศ. 2547 เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับนักศึกษา บุคลากร และสมาชิกของห้องสมุด ได้มีโอกาสพิมพ์งานจากเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการสืบค้นข้อมูลได้ เมื่อดำเนินการให้บริการได้ระยะหนึ่งพบว่ารูปแบบการให้บริการแบบเดิมนั้นก่อให้เกิดภาระในการควบคุมพฤติกรรมของผู้ใช้บริการ ซึ่งปัญหาที่พบบ่อยคือที่ผู้ใช้บริการสั่งพิมพ์งานแล้วไม่มารับงานพิมพ์ ทีมพัฒนาในยุคนั้นซึ่งประกอบด้วย นางสาวจามิกร หิรัญรัตน์ และนายสมพงศ์ หุตะจูทะ จึงนำระบบโควตางานพิมพ์จากศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์มาประยุกต์ใช้ร่วมกับการขายคูปองเติมเงิน ซึ่งระบบดังกล่าวได้รับการตอบรับจากผู้ใช้บริการเป็นอย่างดี แต่การจำหน่ายคูปองเติมเงินยังมีข้อจำกัดและอุปสรรคอยู่หลายประการ เช่น ต้นทุนของคูปอง ความยุ่งยากในการออกรหัส PN และจำเป็นต้องมีผู้จำหน่ายคูปองที่จุดบริการ ในระยะแรกของการพัฒนาระบบควบคุมงานพิมพ์อัตโนมัติ Happy Print ทีมพัฒนาระบบไม่มีความรู้เรื่องการควบคุม ฮาร์ดแวร์มากนัก แต่ก็ได้ศึกษาและหาวิธีพัฒนาระบบจนสามารถสร้างงานต้นแบบของระบบควบคุมงานพิมพ์อัตโนมัติเครื่องแรกได้สำเร็จในปี พ.ศ. 2548 หลังจากนั้นไม่นานทีมงานก็ได้พัฒนาจากรุ่นต้นแบบมาเป็น Happy Print รุ่น e1 ในช่วงปลายปี พ.ศ. 2549 ต่อมาในช่วงปลายปี พ.ศ. 2550  มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างระบบครั้งที่สำคัญโดยได้เปลี่ยนชุดวงจรที่ได้จัดซื้อมา ซึ่งทำขึ้นเป็นชุดวงจรควบคุมเครื่องหยอดเหรียญที่ทำขึ้นโดยนายปกิต ตังคพิพัฒน์ นักศึกษาฝึกงาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมกันพัฒนาจนสมารถสร้างชุดวงจรควบคุม ให้สามารถทำงานร่วมกับชอฟต์แวร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และที่สำคัญต้นทุนในการผลิตมีราคาถูกกว่าการจ้างบริษัททำ

        ด้วยเหตุที่ Happy Print รุ่น e2 ถูกพัฒนาขึ้นในปี พ.ศ. 2551 ตามความต้องการหน่วยงาน ต่อมาได้จัดซื้อชุดวงจรจากบริษัทและต่อยอดพัฒนา Happy Print รุ่น e3 ที่สมารถรองรับการเติมเงินผ่านเครื่องโดยทำเป็นชุดวงจรควบคุมเครื่องหยอดเหรียญหรือธนบัตรเข้าไป ในปี 2552 ระบบควบคุมงานพิมพ์อัตโนมัติ Happy Print ได้รับรางวัลแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) PSU Quality Award (ระดับดี) และในปี 2553 ได้รับรางวัลนำเสนอผลงานด้วยวาจา จากข่ายงานห้องสมุดมหาวิทยลัยส่วนภูมิภาค (PULINET)

       ในปัจจุบัน (2562) Happy Printรุ่น e3 ได้พัฒนาให้สามารถโอนโควตางานพิมพ์ รวมถึงติดตั้งหัวอ่าน RFID เพื่อเพิ่มความสะดวกและช่องทางใหม่ ๆ ให้กับผู้ใช้บริการ

S__10199096
S__10199096
S__10199095
S__10199095
S__10199097
S__10199097
S__10199094
S__10199094
S__10199089
S__10199089
S__10199088
S__10199088
S__10199092
S__10199092
S__10199109
S__10199109
S__10199108
S__10199108
S__10199109
S__10199109
S__10199109
S__10199109
S__10199098
S__10199098
S__10199100
S__10199100
S__10199099
S__10199099
previous arrow
next arrow
S__10199096
S__10199095
S__10199097
S__10199094
S__10199089
S__10199088
S__10199092
S__10199109
S__10199108
S__10199109
S__10199109
S__10199098
S__10199100
S__10199099
previous arrow
next arrow

2. ระบบประตูอัตโนมัติ Smart Gate2

Innovator         : สมพงศ์ หุตะจูทะ

วันที่ดำเนินการ :  2551

      สำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร มีระเบียบวิธีการเข้าใช้บริการของสำนักฯด้วยการยืนยันตัวตนก่อนเข้าใช้บริการ ในการยืนยันตัวตนนั้นสามารถใช้เครื่องมือได้หลายแบบ เช่น การแสดงบัตรประจำตัวพร้อมรูปถ่ายการป้อนรหัสประจำตัว การใช้บาร์โค้ด การสแกนลายนิ้วมือ และการใช้บัตรชนิด RFID ซึ่งเป็นรูปแบบที่ถูกเลือกมาใช้กับโครงการนี้ ด้วยเหตุผลของการใช้บัตร RFID มีความสะดวก สมารถอ่านข้อมูลที่อยู่ภายในได้ โดยไม่จำเป็นต้องสัมผัสกับเครื่องอ่านหรือสามารถส่งผ่านข้อมูลในระยะใกล้และไกลได้โดยผ่านสัญญาณคลื่นวิทยุที่ปล่อยออกจากเครื่องอ่านสัญญาณคลื่นวิทยุยังสามารถทะลุทะลวงได้ แม้ว่าบัตร RFD จะอยู่ในวัสดุห่อหุ้ม เช่น กระเป๋าเงิน โดยที่บัตร RFID มีความแม่นยำและรวดเร็วกว่าการยืนยันตัวตนด้วยวิธีแสกนลายนิ้วมือเป็นอย่างมาก ในปัจจุบันได้มีการปรับรูปแบบบัตรประจำตัวนักศึกษา โดยการเพิ่มขดลวดหรือชิป RFID ที่อาศัยย่านความถี่ 1.56 MHz ในตัวบัตร เพื่อใช้ชิปเป็นเครื่องมือในการเก็บบันทึกข้อมูลพื้นฐานส่วนบุคคล และในขณะนี้มีการเริ่มต้นใช้บัตรนักศึกษาชนิด RFID

       ตั้งแต่ปีการศึกษา 2554 เป็นต้นไป สำหรับบัตรข้าราชการหรือบัตรพนักงานอยู่ในระหว่างที่กองการเจ้าหน้าที่กำลังปรับเปลี่ยนเป็นบัตรชนิด RFID สำหรับกลไกการเข้าออกห้องสมุดจำเป็นต้องผ่านประตูทางเข้า ที่ออกแบบมาให้สามารถใช้งานร่วมกับบัตร RFD ได้ โดยผู้ใช้บริการจำเป็นต้องสแก่นบัตรบริเวณประตูทางเข้า ก่อนเข้าห้องสมุดทุกครั้งกรณีที่ไม่มีการสแกนบัตรเพื่อยืนยันตัวตน เมื่อเดินผ่านประตูจะมีสัญญาณไฟเตือนดังขึ้น ทำให้เจ้าหน้าที่ที่อยู่บริเวณทางเข้าออกสามารถตรวจสอบความผิดปกติและให้คำแนะนำกับผู้เข้าใช้บริการได้

S__10199109
S__10199108
S__10199109
S__10199109
S__10199100
S__10199099
previous arrow
next arrow
Shadow

3. เครื่องจำหน่ายคูปองเข้าใช้ห้องสมุด

Innovator         : สมพงศ์ หุตะจูทะ

วันที่ดำเนินการ :  2551

   เนื่องจากสำนักทรัพยากรการเรียนคุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร ได้เปิดให้บริการกับบุคคลทั่วไปสามารถเข้ามาใช้บริการหรือนั่งอ่านหนังสือภายในห้องสมุดได้ โดยการเสียค่าเข้าใช้บริการ อัตราสำหรับ นักเรียน/นักศึกษา (นอกเครื่องแบบ) 5 บาท สำหรับผู้ใหญ่ 10 บาท

          ในปี พ.ศ. 2551 ทีมงานพัฒนาระบบสารสนเทศได้จัดทำเครื่องจำหน่ายคูปองอัตโนมัติ โดยอาศัยหลักการเดียวกันกับเครื่องจำหน่ายสินค้า คูปองที่ซื้อจะมีอายุการใช้งานเพียง 1 วัน

S__10199106
S__10199105
S__10199103
S__10199102
S__10199101
S__10199106
S__10199106
previous arrow
next arrow
S__10199106
S__10199105
S__10199103
S__10199102
S__10199101
S__10199106
S__10199106
previous arrow
next arrow

4. การนำระบบลำดับเลข (Running Number) มาช่วยในการจัดชั้นหนังสือ 

Innovator  : สิทธิชัย ลำธารทรัพย์

วันที่ดำเนินการ :  2537

       การให้บริการสารสนเทศในห้องสมุดนั้น ปัญหาหนึ่งที่ห้องสมุดหลาย ๆ แห่ง ที่ประสบปัญหาคล้าย ๆ กันคือทำอย่างไรจึงสามารถนำทรัพยากรสารสนเทศที่ใช้เสร็จแล้ว หรือทรัพยากรสารสนเทศใหม่ จัดเรียงบนชั้นให้ต้องรวดเร็วพร้อมให้บริการผู้ใช้ได้เร็วที่สุด ซึ่งสำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทรในสมัยที่เป็นฝ่ายหอสมุดคุณหญิงหลงฯ ได้นำระบบต่าง ๆ มาทดลองใช้หลาย ๆ วิธี ล่าสุดนำระบบให้ลำดับเลข (Running Number) มาช่วยในการจัดชั้น ซึ่งได้ใช้มาจนถึงปัจจุบันนี้

           ระบบให้ลำดับเลขมีวิธีดำเนินการ ดังนี้คือ

           ก. ให้หมายเลขแถวหนังสือ ภายใต้หมายเลขแถวไปจนหมดแถวทำอย่างนี้ไปจนหมดทุกแถว

           ข. ก่อนที่จะให้หมายเลข จะต้องเรียกหนังสือที่ถูกยืมกลับมาให้หมด แล้วนำมาจัดเรียงบนชั้น และอ่านชั้นหนังสือให้ถูกต้องมากที่สุด แล้วจึงให้หมายเลขตามข้อ 1 พิมพ์ลาเบลหมายเลขที่ให้ติดที่สันหนังสือ

           ค. กรณีหนังสือใหม่ที่เข้ามาให้หมายเลขเสริม เช่น จะให้หมายเลขสริมระว่างเลขที่ ดังนี้

               1. ระหว่างหนังสือแต่ละหมายเลขเสริมเป็นทศนิยม .100 แบ่งโดยใช้ 2 หารตลอด

               2. สมมุติว่ามีหนังสือใหม่เข้ามาครั้งที่ 1 ระหว่าง เลข 7 กับ 8 ให้หมายเลขเสริมโดยใช้ 2 หาร .100

               3.หนังสือใหม่เข้ามาครั้งที่ 2 เผอิญอยู่ตำแหน่ง 7 กับ 7.5 ให้หมายเลขดังนี้โดยใช้ 2 หาร .5

และถ้ามีหนังสือใหม่เข้ามาครั้งต่อ ๆ ไปก็ใช้หลักเกณฑ์เดียวกัน

             ประโยชน์ที่ได้จากการนำระบบดังกล่าวมาใช้ ทำให้การขึ้นชั้นและอ่านชั้นได้รวดเร็ว ง่าย สะดวก และมีความถูกต้องในการจัดเรียงมากขึ้น

S__10199085
S__10199084
S__10199081
S__10199086
S__10199084
S__10199083
S__10199081
previous arrow
next arrow
S__10199085
S__10199084
S__10199081
S__10199086
S__10199084
S__10199083
S__10199081
previous arrow
next arrow

5. นิทรรศการออนไลน์ (Online Exhibitions)

Innovator  : สวัสดิ์ จันทวงศ์

วันที่ดำเนินการ :  2550

     นิทรรศการออนไลน์ เป็นพัฒนาการของนิทรรศการที่จัดแสดงโดยการจัดแผ่นป้ายหรือบอร์ดเพื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้ หรือข้อมูลทางด้านประเพณี ศิลปวัฒนธรรม การละเล่น ความเป็นอยู่ ความเชื่อของประชาชน ฯลฯ โดยจะจัดแสดงตามวาระโอกาสต่าง ๆ ข้อมูลที่นำมาจัดแสดงแต่ละครั้ง ผู้จัดทำได้พยายามศึกษา คันคว้า รวบรวม เรียบเรียงทั้งเนื้อหาสาระและภาพประกอบ ได้ตระหนักถึงคุณค่าสาระประโยชน์เหล่านี้ จึงได้รวบรวมข้อมูลเหล่านี้มาจัดทำเผยแพร่เป็นสื่อออนไลน์โดยการจัดสร้างเว็บเพจและโฮมเพจ ขึ้นเป็นนิทรรศการออนไลน์ (Online exhibitions) นอกเหนือจากภาพประกอบแล้ว ในบางเรื่องได้เพิ่มสีสันด้วยการใส่เสียงและไฟล์วิดีโอ

นิทรรศการออนไลน์3
นิทรรศการออนไลน์
นิทรรศการออนไลน์2
ppex
นิทรรศการออนไลน์4
previous arrow
next arrow
นิทรรศการออนไลน์3
นิทรรศการออนไลน์
นิทรรศการออนไลน์2
ppex
นิทรรศการออนไลน์4
previous arrow
next arrow

6. คลังปัญญามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (PSU Knowledge Bank)

Innovator :  ฝ่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ สำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร

วันที่ดำเนินการ : 2551

     คลังปัญญามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (PSU Knowledge Bank) เกิดจากแนวคิดของรองศาสตราจารย์ ดร. บุญสมศิริ บำรุงสุข เป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้มอบนโยบายให้ รองศาสตราจารย์ปัญญรักษ์ งามศรีตระกูล ผู้อำนวยการสำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร ดำเนินการโครงการคลังปัญญามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมองค์ความรู้และทรัพย์สินทางปัญญาของมหาวิทยาลัยทุกวิทยาเขต มาจัดเก็บไว้ในที่เดียวกัน เพื่อเผยแพร่สู่สาธารณะและสามารถสืบคันได้ไม่จำกัด รองศาสตราจารย์ ปัญญรักษ์ งามศรีตระกูล จึงเริ่มดำเนินการโครงการคลังปัญญามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในปี พ.ศ. 2551 โดยการแต่งตั้งคณะกรรมการโครงการคลังปัญญามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพื่อร่วมกำหนดโครงสร้างและศึกษาแนวทางการดำเนินงาน และคณะกรรมการดำเนินงานของคลังปัญญามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพื่อศึกษาแนวทางและการดำเนินงานเบื้องต้นคลังปัญญามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และเลือกระบบที่เหมาะสมมาใช้งานคือระบบ DSpace จากนั้นติดตั้งระบบ ศึกษาการใช้งานโปรแกรม DSpace ตลอดจนทดสอบการใช้งานในปี พ.ศ. 2553-2554 คณะกรรมการดำเนินงานฯ ได้พัฒนาชอพต์แวร์บางส่วน รวมทั้งนำเข้าข้อมูลวิทยานิพนธ์และรายงานการวิจัยจากระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ALIST และระบบ DCMS ที่สำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร และสำนักวิทยบริการ วิทยาเขตปัตตานี ดำเนินการไว้แล้ว จำนวน 5,898 รายการ ซึ่งข้อมูลที่นำเข้านั้นมีทั้งส่วนของข้อมูล Metadata และไฟล์เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ที่มีทั้งเอกสารฉบับเต็ม (Full tex) และบทคัดย่อ (Abstract) และนำเสนอคลังปัญญามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ให้กับคณะและหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อให้มีการนำเข้าข้อมูลผลงานของบุคลากร นักศึกษาและหน่วยงานต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย

KB
kb2
kb3
kb4
kb5
previous arrow
next arrow
KB
kb2
kb3
kb4
kb5
previous arrow
next arrow

 

7. Clib Server Monitor

Innovator         :  อัษฎายุธ อุบลกาญจน์

วันที่ดำเนินการ :  2550

Monitor2
Monitor
previous arrow
next arrow
Monitor2
Monitor
previous arrow
next arrow

 

8. e-form ขอใช้บริการยืมระหว่างห้องสมุด

Innovator         :  อัษฎายุธ อุบลกาญจน์

วันที่ดำเนินการ :  2550

 

9. e-form คำร้องขอเลขเลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ (ISBN)
Innovator         :  อัษฎายุธ อุบลกาญจน์

วันที่ดำเนินการ :  2550

 

10. e-form บริการท่านขอมาเราจัดให้
Innovator         :  อัษฎายุธ อุบลกาญจน์

วันที่ดำเนินการ :  2550

 

11. e-form บริการบทความวารสารฉบับพิมพ์

Innovator         :  อัษฎายุธ อุบลกาญจน์

วันที่ดำเนินการ :  2550

 

12. e-form บริการสารบัญวารสารใหม่ทันใจ
Innovator         :  อัษฎายุธ อุบลกาญจน์

วันที่ดำเนินการ :  2550

 

13. e-form บริการหนังสือส่งถึงที่
Innovator         :  อัษฎายุธ อุบลกาญจน์

วันที่ดำเนินการ :  2550

 

14. e-form หนังสือด่วน

Innovator         :  อัษฎายุธ อุบลกาญจน์

วันที่ดำเนินการ :  2550

 

15. ครุภัณฑ์ LRC

Innovator         :  อัษฎายุธ อุบลกาญจน์

วันที่ดำเนินการ :   –

 

16. ฐานข้อมูลท้องถิ่นภาคใต้

Innovator         :  อัษฎายุธ อุบลกาญจน์, คนึง บัวพูล, ไกรศรี ไกรฤกษ์

วันที่ดำเนินการ :  2559 

 

17. ระบบ Local call numbers
Innovator         :  อัษฎายุธ อุบลกาญจน์
วันที่ดำเนินการ :  –

 

18. ระบบจองห้อง Study Rooms
Innovator         :  อัษฎายุธ อุบลกาญจน์
วันที่ดำเนินการ :  –

 

19. ระบบจองห้องประชุม
Innovator         :  อัษฎายุธ อุบลกาญจน์, ไกรศรี ไกรฤกษ์, พิสชา เชาวน์วุฒิกุล
วันที่ดำเนินการ :  –

 

20. ระบบบอกรับต่ออายุวารสารประจำปี
Innovator         :  อัษฎายุธ อุบลกาญจน์
วันที่ดำเนินการ :  –

 

21. ระบบประเมินความพึงพอใจ iVote
Innovator         :  อัษฎายุธ อุบลกาญจน์
วันที่ดำเนินการ :  –

 

22. ระบบยืนยันตัวตน OAuth2

Innovator         :  อัษฎายุธ อุบลกาญจน์
วันที่ดำเนินการ :  –

 

23. ระบบสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (library2u)
Innovator         :  อัษฎายุธ อุบลกาญจน์
วันที่ดำเนินการ :  2562

 

24. ระบบสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Southern Info)
Innovator         :  อัษฎายุธ อุบลกาญจน์
วันที่ดำเนินการ :  2562

 

25. ระบบสารสนเทศห้องสมุด
Innovator         :  อัษฎายุธ อุบลกาญจน์
วันที่ดำเนินการ :  2562

 

26. ระบบสืบค้น ข้อมูลนักศึกษา
Innovator         :  อัษฎายุธ อุบลกาญจน์
วันที่ดำเนินการ :  2562

 

27. ระบบแจ้งซ่อม
Innovator         :  อัษฎายุธ อุบลกาญจน์
วันที่ดำเนินการ :  2562

 

28. เว็บไซต์ Book Fair 2015 ครั้งที่ 2
Innovator         :  อัษฎายุธ อุบลกาญจน์
วันที่ดำเนินการ :  2558

 

29. เว็บไซต์ Book Fair 2016 ครั้งที่ 3
Innovator         :  อัษฎายุธ อุบลกาญจน์
วันที่ดำเนินการ :  2559

 

30. เว็บไซต์ Book Fair 2017 ครั้งที่ 4

Innovator         :  อัษฎายุธ อุบลกาญจน์
วันที่ดำเนินการ :  2560

 

31. เว็บไซต์ BookFair 2018 ครั้งที่ 5

Innovator         :  อัษฎายุธ อุบลกาญจน์, ไกรศรี ไกรฤกษ์
วันที่ดำเนินการ :  2561

 

32. เว็บไซต์ KM

Innovator         :  คณะกรรมการจัดการความรู้ (KM)
วันที่ดำเนินการ :  2562

 

33. เว็บไซต์ Memory@PSU

 

Innovator         :  อัษฎายุธ อุบลกาญจน์, คนึง บัวพูล
วันที่ดำเนินการ :  2562

 

34. เว็บไซต์อาหารปักษ์ใต้

Innovator         :  อัษฎายุธ อุบลกาญจน์, คนึง บัวพูล
วันที่ดำเนินการ :  2562

 

35. เว็บไซต์ห้องสมุด (ภาษาไทย)
Innovator         :  อัษฎายุธ อุบลกาญจน์, ไกรศรี ไกรฤกษ์
วันที่ดำเนินการ :  –

 

36. เว็บไซต์ห้องสมุด (ภาษาอังกฤษ)
Innovator         :  อัษฎายุธ อุบลกาญจน์
วันที่ดำเนินการ : –

 

37. เว็บไซต์ห้องสมุด (เวอร์ชั่นเก่า)
Innovator         :  อัษฎายุธ อุบลกาญจน์
วันที่ดำเนินการ :  –

 

38. เว็บไซต์ห้องสมุดสีเขียว

Innovator         :  อัษฎายุธ อุบลกาญจน์, ไกรศรี ไกรฤกษ์
วันที่ดำเนินการ :   2562

 

39. เว็บไซต์แปลง พ.ศ. > ค.ศ.
Innovator         :  อัษฎายุธ อุบลกาญจน์
วันที่ดำเนินการ :  –

40. โปรแกรมคำนวณค่าตอบแทนการทํางานล่วงเวลา

Innovator         : สมพงศ์ หุตะจูฑะ, ศศิมาภรณ์ ทับทอง, สมฤดี สังสวัสดิ์, อารียา หมัดอะดั้ม, เปรมชัย ศักดิ์ทะเล, ชัชชล ควรกล้า, ภูริชญ์                                                    นิลวิสุทธิ์ อรจิรา ทองเกลี้ยง
วันที่ดำเนินการ :  2562

41. โปรแกรมทะเบียนคุมรายรับรายจ่าย
Innovator         : สมพงศ์ หุตะจูฑะ, วีณา ฤทธิ์รักษา, อรจิรา ทองเกลี้ยง
วันที่ดำเนินการ :  2562

42. โปรแกรมพิมพ์ใบเสร็จ ROKI

Innovator         : สมพงศ์ หุตะจูฑะ, วีณา ฤทธิ์รักษา, อรจิรา ทองเกลี้ยง
วันที่ดำเนินการ :  2562

Back To Top
Chinese (Simplified)EnglishFrenchGermanItalianSpanishThai