Page 41 - รายงานประจําปี ๒๕๕๖-๕๘ ผลการดําเนินงานด้านการวิจัยและบัณฑิตศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนา
P. 41

40












                             ิ
                                                                             ู
                                                                                                        ิ
                                                             
                         4)  ตดตามการดําเนินโครงการ “การถายทอดองคความรูในการพัฒนารปแบบการใหบริการคลอดวิถีธรรมชาต”
                           เมื่อวันที่ 20  มีนาคม 2556 CILO ไดลงพื้นที่โรงพยาบาลสตูล อ.เมอง จ.สตูล ติดตามการดําเนินโครงการการ
                                                                            ื
                                                                              ุ
                                                                          ี
                  ถายทอดองคความรูในการพัฒนารูปแบบการใหบริการคลอดวิถีธรรมชาติ  โดยม  รศ.สรียพร  กฤษเจริญ  อาจารยประจําภาค
                  วิชาการพยาบาลสูติ-นรีเวชและผดุงครรภ และคณะ เปนวิทยากร   ผูเขารับการอบรมเปนกลุมพยาบาลหองคลอด หนวยฝาก
                  ครรภ อสม. ในพื้นที่ และเจาหนาที่ในหนวยใหบริการพยาบาลปฐมภูมิ โรงพยาบาลสตูลและพื้นที่ใกลเคียง  โดยในการอบรมได
                  แบงหัวขอออกเปน  แนวคิดการคลอดวิถีธรรมชาติ  การเตรียมหญิงตั้งครรภและญาติเพื่อการคลอดวิถีธรรมชาติ    แนวทางและ
                  ประสบการณการใหบริการคลอดวิถีธรรมชาติ    การจัดตั้งศูนยคลอดวิถีธรรมชาติ    ความเปนไปได  ปญหาและอุปสรรคการ
                  คลอดวิถีธรรมชาติ  การฝกปฏิบัติการทําคลอดวิถีธรรมชาติ  และระดมความคิดเห็นการนําแนวทางการใหบริการคลอดวิถ ี
                  ธรรมชาติไปใช











                                                                                        ื่
                                                                       
                         5)  ตดตามการดําเนินโครงการ “การยืดอายุการใชงานของชนสวนเครื่องจักรโดยการเชอมพอกผิวแข็ง”
                                                                     ิ้
                             ิ
                               เมื่อวันที่  4-5  เมษายน  2556  CILO  ลงพื้นที่ติดตามการดําเนินงานของโครงการการการยืดอายุการใชงานของ
                  ชิ้นสวนเครื่องจักรโดยการเชื่อมพอกผิวแข็ง  โดยม  ผศ.ดร.ประภาศ  เมืองจันทรบุรี  อาจารยประจําภาควิชาวิศวกรรมเหมืองแร
                                                    ี
                  และวัสดุ  และคุณณรงคฤทธิ์ โทธรัตน วิศวกรเครื่องกลประจําเหมืองแมเมาะ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย เปนวิทยากร
                  ทั้งนี้เพื่อใหหนวยงานตางๆ  เขาใจวิธีในการวิเคราะหความเสียหายของชิ้นสวนเครื่องจักรเบื้องตน  วิธีการยืดอายุการใชงานของ
                                               ุ
                  ชิ้นสวนเครื่องจักรโดยการเชื่อม  โดยมีกลมเปาหมายคือ  วิศวกร  ชางเทคนิค  วิศวกรรมซอมบํารุง  จากหนวยงานตางๆ  โดยม ี
                  หัวขอในการอบรมคือ  ความจําเปนในการซอมบํารุงเครื่องจักรและปญหาในการซอมบํารุง  การชํารุดของเครื่องจักร/ชนิดและ
                  กลุมวัสดุสําหรับเครื่องจักร  เทคนิคในการซอมบํารุงชิ้นสวนเครื่องจักร  โลหะวิทยาของกระบวนการเชื่อมซอม/ความสามารถใน
                                                           ็
                  การเชื่อมของโลหะกลมเหล็ก  การเชื่อมซอม/การผอกผิวแขงโดยการเชื่อม  การเลือกลวดเชื่อมและการประยุกตใชลวดเชื่อมใน
                                 ุ
                  การซอมเครื่องจักรกล  รวมถึงการสาธิตและกรณีศึกษาหาการเชื่อมซอมในอุตสาหกรรม  และศึกษาดูงานที่ภาควิชาวิศวกรรม
                  เหมืองแรและวัสดุดวย











                                                                                           ั
                         6)  ตดตามการดําเนินโครงการ “การถายทอดเทคนคการอดเพิ่มความหนาแนนไมปาลมน้ํามนแปรรูปและ
                                                                                       
                             ิ
                                                              ิ
                                                                   ั
                           ผลตภัณฑตอเนอง”
                              ิ
                                       ื่
                           โครงการนี้ไดรับความสนใจจากผูเขารวมในระดับดีมาก  เพราะเปนงานวิจัยที่มีประโยชนตอเกษตรกรสวนปาลม
                  และอุตสาหกรรมไมในอนาคตหากมีการพัฒนาผลงานอยางตอเนื่อง  ภายหลังจากการจัดโครงการดังกลาวมีผูประกอบการและ
                  นักวิจัยนําความรูที่ไดไปตอยอดเพื่อพัฒนาผลิตแผนไมปาลมแปรรูปอัดเพิ่มความหนาแนนภายใตแรงอัดและความรอนใหม ี
                  สมบัติดียิ่งขี้น
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46