Page 36 - รายงานประจําปี ๒๕๕๖-๕๘ ผลการดําเนินงานด้านการวิจัยและบัณฑิตศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนา
P. 36
35
7. การถายทอดเทคโนโลยีและความร
ู
7.1 สํานักงานประสานงานวิจัยอุตสาหกรรมและชุมชน
(Community and Industry Linking Office: CILO)
สํานักงานประสานงานวิจัยอุตสาหกรรมและชุมชน (CILO) ไดดําเนินภารกิจในการประสานงานกับหนวยงานภายใน
มหาวิทยาลัยในการถายทอดองคความรูหรือเทคโนโลยีใหแกหนวยงานภายนอก ทั้งภาคธุรกิจ อุตสาหกรรม และชุมชน ซึ่งท ี่
ผานมาไดเนนประสานงานในบริบทที่สอดคลองกับศักยภาพของชุมชนภาคใต ทั้งสวนที่ดําเนินการจัดเองและเขารวมกับหนวย
งายภายนอกอื่นๆ ดังนี้
ั
1. โครงการความรวมมือเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่จังหวดสงขลาแบบสรางสรรค (ภายใต MOU ม.อ. - สกว.)
โครงการความรวมมือเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่จังหวัดสงขลาแบบสรางสรรค เกิดจากสํานักงานกองทุนสนับสนุนการ
วิจัย (สกว.) และ ม.อ. ไดทําบันทึกขอตกลงความรวมมือ เรื่อง “การพัฒนางานวิจัยและการสนับสนุนงานวิจัยเชิงพื้นที่จังหวัด
สงขลา” เปนระยะเวลา 2 ป (มกราคม 2555 - ธันวาคม 2556) โดยรวมสนับสนุนงบประมาณหนวยงานละ 1,000,000 บาท/ป
เพื่อใชในการจัดกิจกรรมการสรางความรูและขอมูลทเปนประโยชนตอการขับเคลื่อนการพัฒนาชุมชน การพัฒนานักวิจัยรุนใหม
ี่
และพัฒนานักวิจัยกลุมเดิมของ ม.อ. ที่ทํางานวิจัยเพื่อพัฒนาพื้นที่หรืองานวิชาการรับใชสังคม
การลงนามในบันทึกขอตกลงความรวมมือระหวาง ม.อ. และ สกว. เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2554
โครงการความรวมมือฯ แบงงบประมาณออกเปน 2 สวน คือ
1. งบประมาณเพื่อการบริหารจัดการ
2. งบประมาณเพื่อสนับสนุนทุนวิจัยในประเด็น “การปองกันและแกไขปญหาน้ําทวมในพื้นที่จังหวัดสงขลา” แบง
ออกเปน 2 ประเภท คือ
2.1 ทุนสนับสนุนอาจารยทําวิจัย
ี่
2.2 ทุนอุดหนุนการวิจัยเพื่อวิทยานิพนธ เปนการสงเสริมการพัฒนานักวิจัยรุนใหมใหทํางานวิจัยเชิงพื้นท หรือ
งานวิชาการรับใชสังคมผานระบบบัณฑิตศึกษา
โครงสรางและรูปแบบการดําเนินงาน
โครงการความรวมมือฯ มีการดําเนินกิจกรรมตางๆ โดยใชขั้นตอนตามรูปแบบของ สกว. จํานวน 6 ขั้นตอน ไดแก
1) การพัฒนาโครงการวิจัย 2) การควบคุมคุณภาพ 3) การสรางเครือขายวิจัยเชิงพื้นที่ 4) การพัฒนาระบบงานเพื่อสนับสนุน
นักวิจัย 5) การพัฒนา “นักจัดการการวิจัย” และ 6) การผลักดันผลงานวิจัยเพื่อการนําไปใชประโยชน จากรูปแบบการดําเนิน
กิจกรรมทง 6 ขั้นตอน นํามาสูผลการดําเนินงานดังนี้
ั้
1. สนับสนุนโครงการวิจัยในประเด็น “การปองกันและแกไขปญหาน้ําทวมในพื้นที่จังหวัดสงขลา” ระยะเวลา 2 ป
จํานวน 13 โครงการ โดยแบงตามประเภททุนดังนี้
ปที่ 1 (2555)
- แบบที่ 1 ทุนสนับสนุนอาจารยทําวิจัย จํานวน 4 โครงการ
1) โครงการ “การประเมินพื้นที่เสี่ยงภัยดินถลมและพัฒนาระบบเตือนภัย พื้นที่จังหวัดสงขลา”
หัวหนาโครงการ รศ.ดร.ธนิต เฉลมยานนท ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร
ิ
2) โครงการ “การพัฒนารูปแบบการปองกันภาวะวิกฤตสุขภาพจิต และการเยียวยาทางจิตใจของ