Page 38 - รายงานประจําปี ๒๕๕๖-๕๘ ผลการดําเนินงานด้านการวิจัยและบัณฑิตศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนา
P. 38

37


                         2.  พัฒนานักวิจัยรุนใหมและนักวิจัยเดิม  ไมนอยกวา  20  คน  ทั้งนี้นักวิจัยไดมีโอกาสเขารับการอบรมหลักสูตร
                                           
                                                                               ี่
                  “Systems Thinking และการเขียนขอเสนอโครงการวิจัยแบบ ABC” ซึ่งเปนกิจกรรมทจัดขึ้นเพื่อสรางบรรยากาศทางวิชาการ
                                                     ั้
                  เพิ่มทักษะความรูในการทํางานวิจัยเชิงพื้นที่ รวมทงการปรับฐานคิดในการพัฒนาโจทยวิจัยเชิงพื้นที่ใหกับนักวิจัยเพิ่มเติม
                         3.  ไดเครือขายนักวิจัย นักวิชาการ และนักพัฒนาในทองถิ่น จากการจัดกิจกรรมยอยตางๆ เชน
                                                               
                                                           ุ
                           -  เวทีพัฒนาโครงการวิจัย  ไดเชิญตัวแทนชมชน/นักวิจัย/นักวิชาการจากภาคีเครือขายตางๆ  ที่ทํางานดานการ
                  ปองกันและแกไขปญหาน้ําทวม รวมพิจารณาใหขอเสนอแนะ รวมทงวิพากษวิจารณโครงการ
                                                                 ั้
                           -   ลงพื้นที่เยี่ยมโครงการ เพื่อพบผูนําชุมชน ผูนําตามธรรมชาติ ผูนําตามฐานอาชีพ เปนตน
                                                        ็
                                                           ู
                           -   จัดกิจกรรมเสวนา  “หาดใหญเขมแขง..สภัยน้ําทวม”  ตั้งแตป  2554-2557  จํานวน  6  ครั้ง  ทําใหเกิดการ
                  บูรณาการการทํางานรวมกับภาคีเครือขายทั้งที่เปนตัวแทนภาคประชาชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น และภาคเอกชน ในดาน
                  การพัฒนาโจทยวิจัย
                         4.  สนับสนุนนโยบายของผูบริหารมหาวิทยาลยในการเพิ่มจํานวนนักวิจัยททํางานวิจัยเชิงพื้นที่หรืองานวิชาการรับใช 
                                                         ั
                                                                             ี่
                  สังคม  โดยกําหนดใหมีโครงสรางของหนวยบริหารงานวิจัยเชงพื้นที่อยูภายใตสํานักวิจัยและพัฒนา  เพื่อใหเปนกลไกหลักในการ
                                                            ิ
                  ประสานงานและขับเคลื่อนงานวิจัยเชิงพื้นที่อยางจริงจัง

                                               ั
                  2. โครงการแกไขปญหาจราจรของจังหวดสงขลา
                         CILO สํานักวิจัยและพัฒนา ไดประสานจัดประชุมเพื่อแกปญหาจราจรของจังหวัดสงขลา รวมกับกลุมงานยุทธศาสตร
                  งานพัฒนา  สํานักงานจังหวัดสงขลา  โดยมี  รองผูวาราชการจังหวัดสงขลา  คณะนักวิจัยของ  ม.อ.  และผแทนหนวยงานภาคี
                                                                                            ู
                                                  ั่
                  เครือขายที่เกี่ยวของเขารวมประชุม  จนกระทง  ศ.ดร.พิชัย  ธาณีรนานนท  คณะวิศวกรรมศาสตร  และคณะ  ไดยื่นขอเสนอ
                  โครงการ   “การศึกษาทบทวนโครงการและงานวิจัยดานโครงสรางพื้นฐานการขนสงและการจัดการจราจรทางถนนในจังหวัด
                  สงขลา  กรณีศึกษาเมืองหาดใหญและเมืองสงขลา”  ขอรับการสนับสนุนงบประมาณในการทําวิจัยจาก  ม.อ.  ประจําป  2556
                                                                       ึ
                  จํานวน 400,000 บาท มีระยะเวลาดําเนินการ 4 เดือน (1 มิถุนายน 2556 ถง 30 กันยายน 2556)
                                                                          ั้
                         คณะนักวิจัยสามารถเสนอรายงานวิจัย  ซึ่งมีขอเสนอแนะเชิงนโยบายทงระยะสั้น  ระยะกลาง  และระยะยาว  โดยม ี
                                                                                 ุ
                     ี่
                  พื้นทที่เปนจุดเนนคืออําเภอเมืองสงขลาและอําเภอหาดใหญ  และไดนําเขาเสนอตอที่ประชมขับเคลื่อนการดําเนินงานตามมติท ี่
                  ประชุมคณะกรรมการรวมภาครัฐและเอกชนเพื่อแกไขปญหาทางเศรษฐกิจจังหวัดสงขลา  เมื่อวันที่  10  มีนาคม  2557  ซึ่งทาง
                                                                               ั
                  จังหวัดสงขลาไดแจงหนวยงานที่รับผิดชอบเพื่อดําเนินการในสวนที่เกี่ยวของใหบรรลุผลสมฤทธิ์ตอไปแลว











                          ศ.ดร.พิชัย ธาณีรนานนท และ ดร.ปรเมศวร เหลือเทพ นําเสนอขอเสนอแนะเชิงนโยบายฯ ตอที่ประชุม
                   “ขับเคลื่อนการดําเนินงานตามมติที่ประชุมคณะกรรมการรวมภาครัฐและเอกชนเพื่อแกไขปญหาทางเศรษฐกิจจังหวัดสงขลา”

                  3. โครงการสมัชชาประชาชนนครหาดใหญ  
                         CILO  สํานักวิจัยและพัฒนา  ไดประสานงานจัดประชุมเพื่อดําเนินงานสมัชชาประชาชนนครหาดใหญ  รวมกับ
                  เทศบาลนครหาดใหญ และสถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต (สจรส. ม.อ.)  พิจารณาประเด็นปญหาที่ไดจาก “เวทีเสวนา
                  สมัชชาประชาชนนครหาดใหญ” จํานวน 4 ประเด็น ไดแก 1) อุทกภัย 2) จราจรและผังเมือง 3) การพัฒนาคุณภาพชีวิตและ
                                       
                  สิ่งแวดลอม  (เนน  green  city)  และ  4)  ทิศทางการพัฒนาเมืองหาดใหญ    เพื่อนําเขาสูกระบวนการสมัชชาประชาชนนคร
                        
                  หาดใหญ  จนกระทั่งเทศบาลนครหาดใหญไดวาจาง ม.อ. เปนที่ปรึกษาทางวิชาการสําหรับการดําเนินงานสมัชชาประชาชนนคร
                  หาดใหญ  ภายใตโครงการ  “ขอมูลและขอเสนอนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพในการจัดการนครหาดใหญดานอุทกภัย  จราจร
                  และทิศทางการพัฒนาเมือง”
                                                                                  ี
                         คณะนักวิจัยสามารถจัดทํารายงานจากการศึกษาและการรับฟงความคิดเห็นของผมสวนไดสวนเสีย  เพื่อนําไปกําหนด
                                                                                 ู
                                                                                                ั
                  นโยบายและมาตรการในการแกปญหาและบรรเทาผลกระทบในปญหา 3 ดาน และนําเสนอตอที่ประชมใหญสมชชาประชาชน
                                                                                         ุ
                  นครหาดใหญ  เมื่อวันที่  18  สิงหาคม  2557  ซึ่งตอมาเทศบาลนครหาดใหญไดสรุปประเด็นเพื่อขอความอนุเคราะหไปยัง
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43