Page 131 - รายงานประจําปี ๒๕๕๖-๕๘ ผลการดําเนินงานด้านการวิจัยและบัณฑิตศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนา
P. 131

130


                  11.5  สถาบันวิจัยและพัฒนาสุขภาพภาคใต (วพส.)
                        (Institute of Research and Development for Health of Southern Thailand: RDH)

                         สถาบันวิจัยและพัฒนาสุขภาพภาคใต  (วพส.)  เปนหนวยงานในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร  โดยความรวมมือและ
                  การสนับสนุนจากสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ  (สสส.)  สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย  (สกว.)  และ
                  มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร  ความคิดในการกอตั้งเริ่มตนตั้งแตป  2546  เพื่อขยายศักยภาพของนักวิชาการในการแกไขปญหา
                  สุขภาพและพัฒนาศักยภาพดานสุขภาวะภาคใต  หลังจากการพิจารณาขอเสนอแนะจากหลายฝาย  การกอตั้งสําเร็จเรียบรอย
                  และเริ่มทํางานตั้งแตตนป 2547

                             ั
                         วิสัยทศน  
                         เปนองคกรสรางองคความรู ระดมนักวิชาการชั้นสูงเพื่อการวิจัยและพัฒนาสุขภาพของประชาชนภาคใต
                         พันธกิจ
                                              ็
                                           
                         นําและเสริมสรางความเขมแขง ขยายบทบาทและขับเคลื่อนความสามารถของนักวิชาการใหมีการวิจัยและพัฒนาทาง
                  สุขภาพที่ตอบสนองความตองการของภาคใตอยางตอเนื่อง
                         ยุทธศาสตร  
                         1.  สนับสนุนและเสริมความเขมแข็งดานวิชาการของหนวยระบาดวิทยาและสาขาวิชาการอื่น
                         2.  พัฒนาระบบจัดการงานวิจัยและการจัดการความรูของชุดโครงการวิจัย ทํางานรวมกับหนวยสงเสริมวิจัยอื่นๆ ใน
                            ภูมิภาคและเปดชองทางใหมเพื่อการสื่อสารทางวิชาการกับชุมชนโดยตรง
                         3.  วิเคราะหยุทธศาสตรการพัฒนาสุขภาพภาคใตเพื่อการสนับสนุนใหเกิดการวิจัยไปในทิศทางที่เหมาะสมตาม
                            ยุทธศาสตรที่วิเคราะหได

                                  
                                       ุ
                         เปาประสงคและกลมเปาหมาย
                         1.  การสรางทรัพยากรมนุษยดานสุขภาวะ วพส. ไดสรางและพัฒนาทรัพยากรมนุษย 2 กลุม คือ
                                                   ุ
                            1)  นักวิจัย  ดานการสรางเสริมสขภาวะโดยเนนที่นักวิชาการระดับอาจารยและบัณฑิตศึกษา  ปริญญาโทและเอก
                               ภายในหนวยระบาดวิทยา คณะแพทยศาสตร ม.อ. และสถาบันวิชาการอื่นๆ ในภาคใต
                            2)  นักสรางเสริมสุขภาวะ/สงเสริมสุขภาพ วพส. ไดสรางนักสงเสริมสุขภาพทั้งระดับมืออาชีพ (บัณฑิตอาสาเดิม)
                                                                       
                               และระดับเยาวชนและคนทั่วไปผานกระบวนการจิตอาสา  บุคคลเหลานี้ไดรับการพัฒนาศักยภาพในการสราง
                               เสริมสุขภาพโดยเนนประสบการณจริงในชุมชนภาคใต
                         2.  การสรางผลงานวิชาการ ประกอบดวย
                                               ุ
                            1) ผลงานดานการสงเสริมสขภาพโดยตรง สวนใหญผานหนวยระบาดวิทยาและคณะตางๆ ในสาขาวิทยาศาสตร
                               สุขภาพอื่นๆ และสวนที่เกี่ยวของกับสุขภาวะทั่วไป เชน สภาพ แวดลอม สงคม สันติภาพ ฯลฯ
                                                                                  ั
                            2)  การพัฒนาสุขภาวะของพื้นที่ภาคใต ซึ่งไดแก ปญหาความรุนแรง และปญหาสุขภาพเรื้อรัง

                         ผลการดําเนินงาน
                         วพส. ไดดําเนินงานตอเนื่องจากที่ผานมาและสอดคลองกับที่เสนอ สสส. พรอมทงไดสรางผลงานใหมๆ ตามที่ไดเสนอ
                                                                                 ั้
                  ไวกับคณะแพทยศาสตร และ ม.อ. ไดแก สนับสนุนงานวิจัยดานวิทยาศาสตรสุขภาพใหกับนักวิชาการใน ม.อ. และหนวยงานท ี่
                  เกี่ยวของ รวมกับ สํานักวิจัยและพัฒนา ม.อ. พัฒนาความสามารถการวิจัยของนักวิจัยในมหาวิทยาลัยและในพื้นที่ และรวมกับ
                  วิทยาเขตใหม  ไดแก  ตรัง  ภูเก็ต  สุราษฎรธานี  ในการพัฒนาโครงรางวิจัยและพัฒนา  และบทความวิจัยเพื่อสงตีพิมพในระดับ
                                                                                           ุ
                  นานาชาติ พรอมทั้งอํานวยความสะดวกใหกับอาจารยรุนใหมและนักวิจัยใน ม.อ. ทํางานวิจัยเชื่อมโยงกับชมชน และสรางความ
                  รวมมือระหวางประเทศ  โดยรวมมือกับมหาวิทยาลัยเพื่อพัฒนาบุคลากรในสาขาวิชาตางๆ  ในเมืองอาเจะหและเมืองอื่นๆ  ของ
                  ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศจีน และประเทศอื่นๆ ในอาเซียน เปนตน  และในป 2556-2557 มีผลการดําเนินงานในดานตางๆ
                  ดังนี้
   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136