Page 53 - รายงานประจําปี ๒๕๔๘-๕๒ ผลการดําเนินงานด้านการวิจัยและบัณฑิตศึกษา
P. 53

9.2 การจัดการทรัพย์สินทางปัญญา



                        จากข้อมูลจำนวนผลงานที่ได้รับการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาในปีงบประมาณ 2544-2552 ดังแสดงในรูปที่

                9.3 พบว่า จำนวนผลงานที่ได้รับการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญายังมีน้อย เนื่องจากนักวิจัยไม่ทราบข้อมูลเกี่ยวการจด
                ทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา ขาดความรู้ความเข้าใจในการยื่นขอจดทะเบียน อีกทั้งขั้นตอนยุ่งยากไม่ชัดเจน แต่หลังจากที่
                มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้จัดตั้งฝ่ายจัดการทรัพย์สินทางปัญญาและถ่ายทอดเทคโนโลยี (Intellectual Property of
                Prince of Songkla University Office; IPOP) ภายใต้การดำเนินงานศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ เพื่อให้บริการในด้านต่างๆ
                มีการทำงานเชิงรุก และการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารไปยังคณะ/หน่วยงานและนักวิจัย ทำให้ได้รับความรู้และเห็นความ

                สำคัญของการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาเพิ่มขึ้น เห็นได้จากข้อมูลกิจกรรมด้านทรัพย์สินทางปัญญา (ตารางที่ 9.1)
                จึงส่งผลให้แนวโน้มที่จะมีจำนวนผลงานที่ยื่นจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา และการนำผลงานไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์
                เพิ่มมากขึ้น















                                                                                                                   47























                        รูปที่ 9.3  จำนวนผลงานที่ได้รับการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา ปีงบประมาณ 2544-2552            มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ : เส้นทางสู่มหาวิทยาลัยวิจัย
                                  เปรียบเทียบระหว่างผลงานที่ได้รับการอนุมัติและอยู่ในระหว่างดำเนินการ
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58