Page 15 - ว่าวมลายู
P. 15
8
ในปี พ.ศ. 2527 กรุงเทพมหานครได้จัดงาน “ประเพณีว่าวไทย 2527” ณ บริเวณท้อง
สนามหลวง โดยสมเด็จพระเทพรัตน์ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเสด็จฯ เป็นองค์ประธานในพธีเปิด
ิ
ในงานนี้นอกจากการแสดงกีฬาไทยประเภทต่างๆ แล้ว จุดส าคัญคือการประกวดว่าวภาพ และการ
แข่งขันว่าวจุฬา ว่าวปักเป้า ตลอดจนมีนิทรรศการว่าวในสมัยรัชกาลที่ 5 ให้ประชาชนชมด้วยการเล่น
ว่าวในการแข่งขันว่าวนี้ คงจะมีต่อไปทุกปี เพราะเป็นกีฬาเก่าแก่ของไทยที่มีคุณค่าข้างในด้านฝึกให้
ื่
ผู้เรียนได้ใช้ความพยายาม ไหวพริบ การสังเกต การตัดสินใจ อยู่ตลอดเวลา ด้านสุขภาพเพอเป็นการ
ออกก าลังกายและใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ทั้งการเล่นว่าวไม่สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมาก ยิ่งไปกว่านั้น
ื้
ยังเป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรมและศิลปะพนบ้าน คือการเล่นว่าวและการท าว่าวให้คงอยู่ต่อไปอกด้วย
ี
(แสงจันทร์ ไตรเกษม, 2529 : 78)
ปัจจุบันว่าวแบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ
1. ว่าวแผง คือว่าวที่ไม่มีความหนา มีแต่ส่วนกว้าง และส่วนยาว ตัวอย่างเช่น ว่าวจุฬา
ปักเป้า อีลุ้ม หรือว่าวรูปสัตว์ ต่าง ๆ
2. ว่าวภาพ คือว่าวที่ประดิษฐ์ให้มีลักษณะพเศษเพอแสดงแนวคิด ฝีมือในการประดิษฐ์
ิ
ื่
แบ่งเป็นประเภทย่อยได้ 3 ชนิด
2.1 ว่าวประเภทสวยงาม
2.2 ว่าวประเภทความคิด
2.3 ว่าวประเภทตลกขบขัน
ว่าวแผงเท่านั้นที่นิยมน ามาคว้าหรือแข่งขันกัน ส่วนว่าวภาพจะท าส าหรับชักขึ้นอวดรูปร่าง
ว่าวมากกว่าและนิยมชักให้ลอยนิ่งอยู่ในอากาศให้คนชม( ม.ป.ต. ม.ป.ป. : ออนไลน์ )
่
ชนิดของว่าวมลายูมี 4 ชนิด ได้แก
1. ว่าวบูหลัน (Wau Bulan) หรือว่าวดวงจันทร์
2. ว่าวกูจิง (Wau Kucing) หรือว่าวแมว
3. ว่าวจาลาบูดี (Wau Jalabudi) หรือว่าวเกี่ยวกับเพศหญิง
4. ว่าวมือรัก (Wau Merak) หรือว่าวนกยูง
ว่าวทั้ง 4 ชนิดนี้จะอยู่ในว่าวตระกูลเดียวกัน แต่ส่วนท้ายจะมีลักษณะต่างกันไปตามชื่อของ
ตัวว่าว ส่วนท้ายของว่าวจะมีลักษณะเฉพาะ แต่ทั้งนี้ว่าวบูหลันจะมีลักษณะแตกต่างจากว่าวอน และมี
ื่
ื่
รูปทรงที่เด่นชัดกว่า ว่าวบูหลันจึงเป็นที่นิยมเล่นมากกว่าว่าวอน แต่ความงามของตระกูลว่าวจ าพวกนี้
ก็ยังคงซึ่งถึงลวดลายที่บรรจงลงบนตัวว่าว