Page 13 - ว่าวมลายู
P. 13
6
ประวัติความเป็นมาของว่าว
ความเป็นมาของว่าวไทยคุ้นเคย และรู้จักกันดีมาแต่เด็ก เพราะเป็นการละเล่น และกีฬาที่
นิยมเล่นกันอย่างแพร่หลายทั่วประเทศ เล่นได้ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ราคาไม่แพงหรือสามารถท าเองได้จาก
ื้
วัสดุพนบ้านแม้คนที่ไม่เคยเล่นเองก็คงจะเคยเห็นผู้อนเล่นกันแต่น้อยคนนัก ที่จะสร้างเรื่องราวความ
ื่
เป็นมาของความส าคัญของว่าวในด้านวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ว่า การเล่นว่าวนับแต่โบราณมา
มิได้เป็นแต่เพยงการเล่นสนุกที่ปรากฏในวิถีชีวิตของคนไทยทุกระดับ นับตั้งแต่ชาวบ้านจนถึง
ี
พระมหากษัตริย์เท่านั้นแต่ยังเป็นพระราชพิธีในราชส านักดังที่ปรากฏในสมัยอยุธยา
หากจะสืบสาวราวเรื่องว่า การเล่นว่าวของไทยนั้นเริ่มมาแต่เมื่อใด ดูจะเป็นเรื่องที่ท าได้โดย
ยาก เพราะไม่สามารถจะหาหลักฐานที่แน่นอนได้ โดยเฉพาะตัวว่าวซึ่งท าจากไม้ไผ่ กระดาษและป่าน
ว่าว ล้วนเป็นสิ่งที่เสียหายเสื่อมสลายได้รวดเร็ว ไม่คงทน เช่นศิลปะโบราณวัตถุที่ท าด้วยไม้ หิน หรือ
โลหะ อีกทั้งเมื่อเลิกเล่นก็พังพอดีหรือทิ้งกันไปไม่ได้เก็บรักษากันไว้ เพอที่จะทราบประวัติความเป็นมา
ื่
ของว่าวในสมัยโบราณ จึงต้องศึกษาจากหลักฐานด้านประวัติศาสตร์ เช่น พงศาวดาร ต านาน
ตลอดจนจดหมายเหตุประเทศ เป็นต้น นอกจากนั้นยังต้องอาศัยหลักฐานทางโบราณคดี เช่น ภาพ
กิจกรรมฝาผนังหรือภาพสลักอื่นๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับการละเล่นกีฬาไทยประเภทนี้ เท่าที่จะค้นหา
ได้ ตลอดจนวรรณคดีไทยสมัยต่างๆ ที่กวีโบราณมักกล่าวอ้างไว้
ตามหลักฐานที่ปรากฏ คนไทยรู้จักเล่นว่าวมาแต่ครั้งสมัยสุโขทัย เมื่อ 700 ปีมาแล้ว เริ่มจาก
พงศาวดารเหนือ กล่าวถึง พระร่วง ว่าโปรดทรงว่าวและในหนังสือต ารับท้าวศรีจุฬาลักษณ์เล่าถึงพระ
ราชพิธีบุษยาภิเษกในเดือนยี่ว่า เป็นนักขัตฤกษ์ที่นางสนมก านัล ได้ดูการชักว่าวเหง่าซึ่งมีเสียงไพเราะ
เสนาะโสตยิ่ง
ในสมัยอยุธยาการเล่นว่าวคงเป็นที่นิยมกันแพร่หลาย จนเลยเถิดไม่ระมัดระวัง จึงมีกฎ
มณเฑียรบาลห้ามชักว่าวข้ามพระราชวัง หากละเมิดมีโทษถึงตัดมือ สมเด็จพระนารายณ์มหาราชเป็น
พระมหากษัตริย์อกพระองค์หนึ่ง ซึ่งโปรดการทรงว่าวมาก จนชาวต่างประเทศที่เข้ามาเจริญ
ี
สัมพนธไมตรีกับกรุงศรีอยุธยาในขณะนั้นได้บันทึกเรื่องราวนี้ไว้หลายท่าน เช่น เมอซิเออร์ เดอลา ลู
ั
ั
แบร์ (M. de la Loubere) อครราชทูตจากราชส านักของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ประเทศฝรั่งเศส ที่เข้า
มาในกรุงศรีอยุธยาเมื่อ พ. ศ. 2230 ได้เขียนไว้ในจดหมายเหตุการเดินทางของท่านว่า”ว่าวของ
้
สมเด็จพระเจ้ากรุงสยามปรากฏในท้องฟาทุกคืน ตลอดระยะเวลา 2 เดือนของฤดูหนาว และทรง
แต่งตั้งขุนนางให้คอยผลัดเปลี่ยนเวรกันหรือสายป่านไว้” (Pere Qui Tachard) บาทหลวงในคณะ
บาทหลวงเยซูอตที่พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ส่งเข้ามาเผยแพร่คริสต์ศาสนาในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์
ิ
มหาราชเช่นกัน ได้ให้ความรู้เกี่ยวกับว่าวเพมเติมคือ ว่าวเป็นกีฬาที่เล่นกันอยู่ทั่วไปในหมู่ชาวสยามที่
ิ่
ี่
ทะเลชุบศรและทเมืองลพบุรี ขณะที่สมเด็จพระนารายณ์มหาราชเสด็จประทับอยู่นั้น ในเวลากลางคืน
รอพระราชนิเวศน์จะมีว่าวรูปต่างๆ ลอยอยู่ ว่าวนี้ติดโคมส่องสว่างและลูกกระพรวนส่งเสียงดังกรุ๋งกริ๋ง
ในรัชกาลสมเด็จพระเพทราชา ว่าวมิได้ใช้เฉพาะเพื่อความสนุกสนานเท่านั้น ก็มีการใช้ว่าวใน
การสงครามคือตอนที่พระยายมราช (สังข์) เจ้าเมืองนครราชสีมาเป็นกบฏ พระเทพราชาส่งกองทัพไป