Page 9 - ว่าวมลายู
P. 9
2
ั
ิ
ลวดลายที่ต้องการตกแต่งลักษณะพเศษของว่าวเป็นการสะท้อนถึงอตลักษณ์ทางด้าน
ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น เช่น ลวดลายของว่าวและการออกแบบที่เป็นเอกลักษณ์ของภาคใต้ปัจจุบันมีผู้
นิยมเล่นว่าวเป็นจ านวนมากแต่ช่างฝีมือการท าว่าวมีน้อยมาก
ว่าววงเดือนมีหลายชนิดมีหลายรูปแบบ และมีการเล่นกันแพร่หลายในพื้นที่ภาคใต้แต่ในพนที่
ื้
3 จังหวัดจะมีการเน้นความสวยงามรวมทั้งประเภทเสียงดัง ประเภทขึ้นสูง ที่ส าคัญปัจจุบันมีการ
ี
ื่
จัดท าเพอจ าหน่ายในรูปแบบของที่ระลึกอกด้วย ว่าวมลายูมีความโดดเด่นด้านรูปทรง และทั้งด้าน
ความงานมจากลวดลายที่ผู้ออกแบบได้บรรจงลงบนตัวว่าวนี้เป็นเหตุผลส าคัญที่ท าให้มีคุณค่าในด้าน
ี
จิตรกรรมเพิ่มขึ้นในตัวของมันเอง การออกแบลวดลายของเจ้าของผลงานก็เป็นอกปัจจัยหนึ่งที่ท าให้ผู้
สัมผัสสามารถมองเห็นถึงความตั้งใจที่อยากให้มีศิลปะที่งดงามละเอยดลออ และความอตสาหะทาง
ุ
ี
จิตรกรรมไม่แปลกใจเลยว่าท าไมว่าวมลายูส่วนใหญ่จะใช้ในการประชันในรูปแบบว่าวสวยงามมากกว่า
ที่จะใช้ว่าวชนิดนี้ประชันอย่างอื่นว่าวมลายูนอกจากจะสร้างขึ้นเพื่อการละเล่นแล้วด้านความงามก็เป็น
จุดเด่นอย่างหนึ่งที่ควรศึกษาทั้งโครงสร้างที่ถูกต้อง และวิธีการออกแบบลวดลายฉลุที่ยังไม่ค่อยพบ
ื่
เห็นมากนักในหมู่บ้านเราเพอให้มีคุณค่าด้านจิตรกรรมให้เป็นที่แพร่หลาย และนิยมมากยิ่งขึ้นว่าว
มลายูหลากสีสันแห่งวัฒนธรรมฟากฟาที่ควรส่งเสริมอนุรักษ์ศิลปหัตถกรรมท้องถิ่นไทย และอกหนึ่ง
ี
้
แห่งความภาคภูมิใจแห่งภูมิปัญญาที่เราคนไทยควรช่วยกันรักษาไว้ และว่าวมลายูจะไม่ได้เป็นค าว่า”
ว่าว”แต่จะเป็น”จิตรกรรมว่าว” ที่สร้างสรรค์โดยผู้ที่สนใจในวัฒนธรรมนี้
ด้วยเหตุผลนี้ผู้วิจัยจึงมีความสนใจศึกษาการท าว่าวมลายูทั้งโครงสร้างลวดลายว่าวในด้านงาน
หัตถกรรมท้องถิ่น ผลการวิจัยจะเป็นประโยชน์ทั้งในด้านวิชาการปรับใช้เพอพฒนาหัตถกรรมว่าว
ื่
ั
มลายูท้องถิ่นนี้ และท้องถิ่นอื่นต่อไป
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
1. เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาของว่าวมลายู
ื่
2. เพอสร้างสรรค์ผลงานหัวข้อ จิตรกรรมสร้างสรรค์เทคนิคสีอะคริลิค : ความงามของว่าว
มลายู
ขอบเขตการศึกษา
1.ขอบเขตด้านพื้นที่
ศึกษาข้อมูลของว่าวในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทย และมาเลเซีย