Page 8 - ว่าวมลายู
P. 8

ช






                                                            บทที่ 1

                                                             บทน า


                       หลักการและเหตุผล

                              วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น และสืบทอดต่อๆกันมาในสังคม วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่มี

                       คุณค่าส าหรับสมาชิกในสังคมนั้นๆ และเป็นสิ่งที่สะท้อนความเป็นอยู่ตลอดถึงจิตใจของผู้เป็นเจ้าของ
                       วัฒนธรรม
                              การเล่นว่าวเป็นการละเล่นที่มีมาตั้งแต่โบราณกาล โดยเฉพาะภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียง

                       ใต้ ซึ่งแต่เดิมการเล่นว่าวมักจะเป็นไปตามความเชื่อ ศาสนา ประเพณี ต่อมาก็เป็นการใช้ว่าวให้เป็น
                       ประโยชน์ และระยะหลังเป็นการเล่นว่าวเพอความบันเทิง ส าหรับการเล่นว่าวในเมืองไทยนั้น ตาม
                                                           ื่
                       หลักฐานปรากฏมีการเล่นว่าวตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงปัจจุบันนี้  การเล่นว่าวนอกจากเป็นการแสดง
                                                                               ี
                       ฝีมือการเล่นว่าวของผู้เล่นแล้ว ในการเล่นว่าวถือเป็นปัจจัยส าคัญอกอย่างหนึ่งที่มีผลต่อการลอยตัว
                                                                                      ี
                       ของว่าว การท าว่าวแม้จะไม่ยากล าบากนักในการท าขึ้นมา แต่ไม่ใช่ของง่ายอกเช่นกัน ในการที่จะท า
                                                      ้
                       ให้ว่าวนั้นสามารถลอยขึ้นไปบนท้องฟาได้อย่างนุ่มนวลหรือมีประสิทธิภาพ การเล่นว่าวภาคใต้มีมา
                       นานแล้วแต่ไม่มีหลักฐานยืนยันที่แน่ชัดได้ โดยเป็นกานเล่นที่มีความเพลิดเพลินทั้งเด็กและผู้ใหญ่ พง ึ่
                                                                                        ิ
                       มาริเริ่มจัดการแข่งขันเมื่อไม่นานมานี้ ส่วนการท าว่าวก็เช่นกันตอนแรกก็ไม่พสดารมากนัก เด็กๆก็
                       สามารถท าว่าวเล่นได้ เมื่อมีการจัดแข่งขันจึงมีการท าว่าวที่มีรูปแบบ และสีสันสวยงามยิ่งขึ้น การท า
                       ว่าวจึงกลายมาเป็นการท าเพื่อประกอบอาชีพ
                                                                                                 ี
                              ส่วนมากเวลาของคนมาเลเซียก็จะเต็มไปด้วยการแข่งขันต่างๆ การเล่นว่าวเป็นอกกิจกรรม
                       หนึ่งที่พบมาก มีผู้ร่วมเข้าการแข่งขันมาก และมีผู้เข้าชมการแข่งขันว่าวมากเช่นกัน ว่าวเป็นงานที่ต้อง
                                  ี
                       อาศัยความเพยรพยายามในการออกแบบ ประดิษฐ์ด้วยสีสันต่างๆ และเรื่องลวดลายจะมีการฉลุภาพ
                                                                        ี
                       ลายดอกไม้ ลายพรรณพฤกษา และลายต่างๆอย่างละเอยดลออลงบนตัวว่าว ตกแต่งตามความ
                       สวยงาม โดยการห้อยพู่ก็เป็นอันเสร็จ การท าว่าวเป็นศิลปะโบราณที่ได้จากขุนนางขั้นสูงของศาลมาลา

                                                                                            ้
                       กัน ที่สนามปาดี ประเทศมาเลเซีย ว่าวบูหลัน ว่าวพระจันทร์ มากกว่านกบนท้องฟา ระยะแรกนิยม
                       เป็นว่าวในฤดูเก็บเกี่ยวของชาวนาจนกลายเป็นการละเล่นของชนชาติต่างๆทั่วไป เทศกาลว่าวในแต่ละ
                       ปีจะมีผู้เข้าร่วมจากแดนไกล เช่น เนเธอร์แลน ญี่ปุ่น เยอรมัน เบลเยี่ยมและสิงค์โปร์ ด้วยความงาม

                       ของว่าวมลายูจึงเป็นที่นิยมเล่นมากในบรรดาคนที่ชอบลวดลาย  และสีสันสดุดตาที่ปรากฎอยู่บนตัว

                       ว่าว ว่าวมลายูมีชื่อเรียกเฉพาะคือ ว่าวบูหลัน ว่าวกูจิง ว่าวจาลาบูดี ว่าวมือรัก ว่าวทั้งสี่ชนิดนี้จะอยู่ใน
                       ว่าวตระกูลเดียวกันแต่ส่วนท้ายจะมีลักษณะเฉพาะแต่ความงามของตระกูลว่าวจ าพวกนี้ก็ยังคงซึ่งถึง

                       ลวดลายที่บรรจงลงบนตัวว่าวเรียกได้ว่าถ้าไม่ใส่ลวดลายลงไปบนว่าวพวกนี้ก็เหมือนกับสร้างว่าวชนิด
                       อื่นขึ้นเลยทีเดียว
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13