Page 119 - รายงานประจำปี 2561 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
P. 119

118                                                                      P S U  Annual Report 2018                 P S U  Annual Report 2018                                                                    119

                                                                                                                                   อาชีพ ทำางานไป การเรียนการสอนแบบ Module            Researcher - Network – Funding Agencies – Stakeholder
           สร้างบัณฑิตที่มีสมรรถนะทางวิชาการและวิชาชีพ ซื่อสัตย์ มีวินัย                                                                 4) สร้างหุ้นส่วนร่วมลงทุนในหลักสูตรพัฒนาทรัพยากร  การวาง Research Road Map : ต้นนำ้า กลางนำ้า ปลายนำ้า และ
           ใฝ่ปัญญา จิตสาธารณะ และทักษะในศตวรรษที่ 21 สามารถ                                                                       มนุษย์ กับชุมชนท้องถิ่น ผู้ประกอบการภาคเอกชน เช่น ศูนย์พัฒนา  การวางระบบพัฒนาขีดความสามารถของนักวิจัย เครือข่ายวิจัย โดย
           ประยุกต์ความรู้บนพื้นฐานประสบการณ์จากการปฏิบัติ พัฒนา                                                                   บุคลากรท้องถิ่น ศูนย์พัฒนาศักยภาพผู้สูงวัย         เน้นการพัฒนาใน 12 สาขา ได้แก่ การเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ
           มหาวิทยาลัยให้เป็นสังคมฐานความรู้บนพื้นฐานพหุวัฒนธรรม และ                                                                     5) สร้างระบบ PSU One Code เพื่อให้ศิษย์เก่า ม.อ.  (Agriculture and Biotechnology) การแปรรูปอาหาร (Food for
           หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยให้ผู้ใฝ่รู้ได้มีโอกาสเข้าถึง                                                           ยังคงมีความเชื่อมโยงและเป็นส่วนหนึ่งมหาวิทยาลัยตลอดไป รวม  the Future) การแพทย์ครบวงจร (Medical Hub) การท่องเที่ยว
           ความรู้ได้อย่างหลากหลายรูปแบบ  และจากแผนยุทธศาสตร์                                                                      ทั้งประสานสมาคมศิษย์เก่า เพื่อทำาแผนพัฒนาศิษย์เก่า โดย  กลุ่มรายได้ดี และการท่องเที่ยวเชิงคุณภาพ (Affluent, Medical
           มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560 - 2579) เพื่อ                                                              กระบวนการ Experiential Learning Cycles ควบคู่กับการดึง  and Wellness Tourism) ดิจิตอล (Digital) พลังงาน (Energy)
           ให้การดำาเนินงานบรรลุเป้าหมายสูงสุดของมหาวิทยาลัยในการเป็น                                                              ประสบการณ์ความสำาเร็จ เพื่อยกระดับศักยภาพอย่างต่อเนื่อง   วิกฤตความรุนแรงในพื้นที่ชายแดนใต้ (Crisis of the Deep South)
           เลิศทางวิชาการและขับเคลื่อนสังคมสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน                                                                         6) พัฒนาบุคลากร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยมี  ภัยพิบัติและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (Disas-
           มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จึงมุ่งเน้นเป้าหมายกรอบงานหลักใน                                                               ระบบการวางแผนและบริหาร อัตรากำาลัง (Workforce Planning)  ter Management) สังคมสูงวัย (Aging Society) สมาร์ทซิตี้
           การพัฒนามหาวิทยาลัยในช่วงการดำาเนินงาน 4 ปีข้างหน้า ที่                                                                 ระบบการสร้างเสริมศักยภาพและพัฒนาสมรรถนะบุคลากร (Work-  (Smart City) เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) ชุมชน
           สำาคัญๆ ไว้ใน 3 ด้าน คือ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การวิจัย/  สร้างอาชีพ การรับนักเรียนจากโรงเรียนนานาชาติ โปรแกรม EP      force Development) และการพัฒนาคุณภาพชีวิตการทำางานของ  ท้องถิ่นเข้มแข็ง (Strengthen Community)
           นวัตกรรมที่สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ/พัฒนาประเทศ การเพิ่ม  (English Program)                                               บุคลากร (Work Life Balance)                                3. บริหารสัมฤทธิผลจากระบบงานวิจัย ทั้งจำานวน
           ประสิทธิภาพการบริหาร  โดยแต่ละเป้าหมายกรอบงานมีแนวทาง        7) Pre-College การจัดทำาหลักสูตรร่วมกับโรงเรียน                  7) จัดทำาแผนการสร้างนักบริหารจัดการ นักยุทธศาสตร์   ทุน แหล่งทุน และรายได้เพิ่มจากผลงานวิจัยและนวัตกรรม และ
           การดำาเนินงานที่สำาคัญดังนี้                       และมหาวิทยาลัย                                                       นักประสานงาน และนักสื่อสาร เพื่อขับเคลื่อนวิชาการสู่สังคมที่  การลงทุนในการนำานวัตกรรมสู่เชิงพาณิชย์ โดยเน้นในประเด็นย่อย
              เป้าหมาย 1 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์                     8) ยกระดับระบบ E-Learning, E-Library และเพิ่ม                  ยั่งยืน                                            ต่าง ๆ ดังนี้ (1) วางระบบการสร้างความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา
               กำาหนดแนวทางการดำาเนินงานใน 2 กรอบใหญ่ ๆ คือ การ  พื้นที่การเรียนรู้ การกีฬา และพื้นที่การทำากิจกรรมเสริมหลักสูตร      เป้าหมาย 2 การวิจัย/นวัตกรรมที่สร้างมูลค่าและพัฒนา  แหล่งทุนขนาดใหญ่ทั้งภายใน ภายนอกประเทศ ทั้งที่เป็นรัฐ ท้อง
           ผลิตบัณฑิต และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทุกช่วงวัย โดยแต่ละ        9) สนับสนุนและวางรูปแบบการรับเข้าศึกษาของ                ประเทศ                                             ถิ่น เอกชน (2) สนับสนุนการพัฒนา Proposal เพื่อขอทุนจากแหล่ง
           กรอบเป้าหมาย กำาหนดแนวทางในการดำาเนินงาน ดังนี้    นักศึกษากลุ่มที่ยากจนมากขึ้น และจัดการให้นักศึกษาสามารถหา                    1. บูรณาการหลักสูตร งานวิจัย และบริการวิชาการ  ทุนขนาดใหญ่ (3) ทบทวน จัดตั้งศูนย์หรือหน่วยงานผลักดันงาน
               1. การผลิตบัณฑิต                               งานให้ทำาในระหว่างเรียน                                              ที่เน้นการบูรณาการระหว่างศาสตร์ของคณะ กลุ่มสาชาวิชา ในรูป  วิจัยและนวัตกรรมสู่การใช้ประโยชน์ต่อสังคมและเชิงพาณิชย์ (4)
                 1) จัดทำาแผนผลิตบัณฑิต การปรับหลักสูตร การจัดการ        10) ขยายกรอบงานการเปิดวิทยาเขตหรือ PSU – Cen-             แบบคลัสเตอร์ โดยดำาเนินการทั้งในรูปแบบคลัสเตอร์ ตามประเด็น  การจัดตั้งหรือลงทุนในเชิงธุรกิจในผลงานวิจัยและนวัตกรรม เช่น
           เรียนการสอน และกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อมุ่งสร้างบัณฑิต  ter ในต่างประเทศ อาทิ ภูมิภาคเอเซีย หรืออาเซียน เป็นต้น       สาขา ISSUEs BASED หรือตามศาสตร์ หรือเป็นลักษณะร่วม Ma-  ยางพารา อาหาร สุขภาพ (5) การจัดตั้งสถาบันนโยบายสาธารณะ
           สมรรถนะสากลสู่การเป็นพลเมืองโลก Global Citizen ที่สมบูรณ์       2.  การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทุกช่วงวัย                    trix Cluster ตามประเด็นสาขากับศาสตร์ควบคู่กัน      เพื่อเป็นฐานในการขับเคลื่อนผลงานวิจัยและนวัตกรรมเชิงระบบ
                 2) การสร้างหลักสูตรใหม่โดยสามารถออกแบบรายวิชา        1)  เน้นยกระดับการพัฒนาทุนในตัวคน  โดยวาง                            2. ผลักดันการสร้าง Research & Innovation Hub   และเชิงนโยบาย อันเกิดประโยชน์และคุณค่าต่อการพัฒนาประเทศ
           เอง เลือกเรียนรายวิชาที่สนใจ โดยไม่มีข้อจำากัดเรื่องคณะ/สาขา   ยุทธศาสตร์พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทุกช่วงวัยในระดับจังหวัด ภาค   ในวิทยาเขตที่มีความพร้อมสูง ในลักษณะต่าง ๆ ทั้งการยกระดับ
                 3) สร้างความหลากหลายของอุดมศึกษาของ ม.อ. Di-  ประเทศ และสากล เพื่อเตรียมคนสู่การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ ด้าน            Research Management และสร้าง Research Manager การ     เป้าหมาย 3 การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร (PSU
           versify higher education pathways ให้นักศึกษาสามารถเลือก  สังคม ด้านทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และด้านสุขภาพ          วาง Research Visions หรือ Research Mapping : Topics –  ECOSYSTEM)
           เส้นทางตามความสนใจและพรสวรรค์ของตน มีสายอาชีพหลาก        2) จัดตั้ง Digital Learning Initiatives Center ประสาน                                                                    ด้านการบริหารจัดการวิทยาเขต
           หลาย แนะนำาเส้นทางต่าง ๆ ตั้งแต่วัยเด็ก ส่งเสริมให้นักศึกษาเป็น  ให้เกิด Massive Open Online Course (MOOC) เปิดโอกาสให้                                                            1) สร้างความเป็น Autonomous organization
           ผู้ประกอบการ (Start Up)                            ผู้เรียนสามารถออกแบบสาระสำาคัญ กระบวนการเรียนรู้ได้เอง รวม                                                              อย่างแท้จริง โดยใช้หลักการ Chaordic และ Learning Organiza-
                 4) จัดการศึกษาร่วมกับการปฏิบัติในสถานการณ์จริง   ถึงสามารถเก็บเครดิต เพื่อเข้าศึกษาทั้งระดับปริญญาตรี โท เอก ได้                                                     tion และใช้หลักการบริหารความต่างตามบริบทของแต่ละวิทยาเขต
           (Work Integrated Learning – WIL) โดยเฉพาะการจัดให้มีสหกิจ  ด้วย และทำาหน้าที่ Promote digital Literacy ให้ผู้เรียนมีทักษะ                                                          2) พัฒนาระบบบริหารวิทยาเขตและจัดตั้งกองทุน
           ในทุกหลักสูตร ซึ่งให้ภาคเอกชนเข้ามามีบทบาทอย่างใกล้ชิดในการ  Computational Thinking                                                                                        กลางเพื่อการพัฒนาวิทยาเขต และคณะขนาดเล็กในทุกวิทยาเขต
           ร่วมจัดการศึกษาในลักษณะที่เกิดประโยชน์ร่วมกัน            3) ส่งเสริมและจัดกระบวนการเรียนรู้แบบตลอดชีวิต                                                                            3) ปรับโครงสร้างการบริหารวิทยาเขต โดยให้ชุมชน
                 5) บูรณาการและปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับ  (Encourage Lifelong Learning) ให้กับคนในชุมชน เป็นการเปิด                                                              เข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการและพัฒนาวิทยาเขต ทำาให้
           ภูมิศาสตร์พื้นที่                                  โอกาสทางการศึกษาให้กับคนทุกกลุ่มวัย โดย Experiential Learn-                                                             รู้สึกว่าเป็นมหาวิทยาลัยของชุมชนนั้น ๆ และมุ่งมั่นที่จะสร้าง
                 6) ดำาเนินการเชิงรุก เพื่อดึงดูดนักศึกษาทั้งในประเทศ  ing เปลี่ยนการเรียนรู้แบบทฤษฎีในห้องเรียนมาเป็นการฝึกฝน                                                        ประโยชน์ให้กับชุมชน
           และต่างประเทศ โดยเพิ่มมาตรการจูงใจ เช่น ทุนการศึกษา การ  ประสบการณ์ ผสมผสานการทำางานจริง จะมีลักษณะเรียนไปสร้าง                                                                    4) สนับสนุน ม.อ.ทุกวิทยาเขต สานพลังความร่วม
   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124