Page 117 - รายงานประจำปี 2561 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
P. 117

116                                                                      P S U  Annual Report 2018                 P S U  Annual Report 2018                                                                    117

                 7.9 อุทยานวิทยาศาสตร์ภาคใต้ (จังหวัดสงขลา) มีการ                                                                                                                     ด้านการบริหารจัดการ
           ทำาพิธีวางศิลาฤกษ์อาคารอำานวยการอุทยานวิทยาศาสตร์ภาคใต้
           (จังหวัดสงขลา) ที่พื้นที่วิทยาเขตหาดใหญ่ ส่วนขยายตำาบลทุ่งใหญ่                                                                                                                 เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2561 ได้ดำาเนินการส่งมอบงาน
           อำาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2561 โดย                                                                                                                  และทรัพย์สินให้แก่ผู้บริหารชุดใหม่ของมหาวิทยาลัยสงขลา
           อาคารอำานวยการอุทยานวิทยาศาสตร์ภาคใต้ (จังหวัดสงขลา) ดัง                                                                                                                   นครินทร์  โดยรองศาสตราจารย์ ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล ซึ่งดำารงตำาแหน่ง
           กล่าว ได้รับอนุมัติให้ดำาเนินการก่อสร้างด้วยงบประมาณสนับสนุน                                                                                                               มา 2 วาระ (ระหว่าง มิถุนายน 2555-พฤษภาคม 2561) และครบ
           จากกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นเงิน 425 ล้านบาท                                                                                                                     วาระในวันที่ 31 พฤษภาคม 2561 โดยได้มอบงานให้กับผู้ช่วย
           ซึ่งอุทยานวิทยาศาสตร์ภาคใต้ (จังหวัดสงขลา) แห่งนี้ จะเป็น “นิคม                                                                                                            ศาสตราจารย์ ดร.นิวัติ แก้วประดับ ซึ่งได้รับความไว้วางใจจากสภา
           วิจัยสำาหรับเอกชน” แห่งแรกของภาคใต้ ภายใต้ความร่วมมือ                                                                                                                      มหาวิทยาลัยให้ดำารงตำาแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลา
           ระหว่างกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและมหาวิทยาลัย                                                                                                                        นครินทร์ (ซึ่งมีช่วงวาระการดำารงตำาแหน่งตั้งแต่ปี 2561 – 2565)
           สงขลานครินทร์ ซึ่งมีสำานักงานเลขานุการคณะกรรมการส่งเสริม                                                                                                                   โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิวัติ แก้วประดับ มีแนวทางการบริหาร
           กิจการอุทยานวิทยาศาสตร์ และอุทยานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย                                                                                                                   งานในอนาคต ด้วยการการแปลงยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยสู่การ
           สงขลานครินทร์ เป็นหน่วยงานในการบริหารจัดการอาคารและ                                                                                                                        ปฏิบัติ ซึ่งจะมีแนวทางและวิธีการ 6 ประการคือ 1) การสานพลัง
           โครงสร้างพื้นฐานร่วมกัน มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะเสริมสร้างและขับ                                                                                                           และสร้างความร่วมมือทั้งกับหน่วยงานภายนอก หน่วยงานและ
           เคลื่อนระบบนวัตกรรมของประเทศ และเป็นศูนย์กลางสนับสนุน        7.11 ศูนย์พัฒนานวัตกรรมด้านการบริหารจัดการ                                                                    บุคลากรภายใน สถาบันการศึกษาต่าง ๆ ทั้งในและนอกประเทศ
           ให้เกิดกิจกรรมการวิจัยและพัฒนาโดยภาคเอกชนในพื้นที่ภาคใต้  (Management Innovation Development Center : MIDC)                                                                และศิษย์เก่า 2) การขยายบทบาทการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในทุก
           นอกจากนั้นยังเป็นแหล่งเรียนรู้และเป็นกำาลังสำาคัญในการสร้างงาน  คณะวิทยาการจัดการ มีบทบาทหลักในการกำากับดูแลภารกิจด้าน                                                     ช่วงวัยเพื่อรองรับการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติ
           และส่งเสริมการพัฒนาของชุมชนด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  บริการวิชาการของคณะวิทยาการจัดการ ทำาหน้าที่เป็นศูนย์                                                              และสิ่งแวดล้อม 3) ปรับเปลี่ยนระบบวิจัยสู่ระบบการจัดการงาน
           อีกด้วย                                            ประสานงานผลิตและพัฒนากำาลังคนอาชีวศึกษาใน 5 จังหวัด                                                                     วิจัยและการสร้างนวัตกรรม จากวิจัยส่วนตนเป็นการวิจัยแบบมีเป้า
                 7.10 ศูนย์วิจัยและพัฒนาสัตว์เคี้ยวเอื้องขนาดเล็ก คณะ  ชายแดนภาคใต้ โดยเฉพาะในจังหวัดปัตตานี ผู้ประกอบการรายเล็ก ๆ                                                    หมาย เพื่อยกระดับความรู้สู่พลังปัญญา 4) การก้าวสู่สากลเพื่อการ
           ทรัพยากรธรรมชาติ อำาเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา ได้มีพิธี  เช่น วิสาหกิจชุมชน / OTOP ศูนย์ MIDC ของคณะวิทยาการจัดการ                                                       พัฒนาพื้นที่ สร้างความเป็นนานาชาติ ความร่วมมือที่สอดคล้องกับ
           มอบแพะนมพระราชทานพันธุ์ชามี เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2561  ม.อ. ได้ดำาเนินการชักชวนนักธุรกิจและข้าราชการที่มีความรู้เรื่อง                                                  ทิศทางของมหาวิทยาลัย สนับสนุนการพัฒนาความร่วมมือที่ทำาให้
           โดยผู้แทนมูลนิธิชัยพัฒนา เป็นผู้มอบแก่คณบดีคณะทรัพยากรธรรมชาติ   ธุรกิจมารวมตัวกันแบบจิตอาสา มาขึ้นทะเบียนที่ศูนย์ MIDC เพื่อ                                              ประเทศไทยได้ประโยชน์ การพัฒนาหลักสูตรที่เป็นสากล 5) สร้าง
           เพื่อนำาไปศึกษาข้อมูลทางวิชาการ เพื่อพัฒนาขยายพันธุ์เพื่อส่งเสริม  เป็นแหล่งรวมที่ปรึกษา และรับคำาร้องขอในการช่วยเหลือวิสาหกิจ                                             แบบการเรียนรู้ใหม่ที่สามารถเข้าถึงได้ง่ายและเร็ว เป็นการศึกษา
           อาชีพแก่ราษฎร โดยมีรองผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา และหัวหน้า  ชุมชนและ OTOP ต่อไป โดยวันที่ 9 มีนาคม 2561 ได้จัดพิธีลงนาม                                                     ตลอดชีวิตสำาหรับคนทุกช่วงวัย 6) ส่งเสริมให้มหาวิทยาลัยเป็น
           ส่วนราชการในพื้นที่ร่วมในพิธีความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัย  บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) “100 ที่ปรึกษา 100 วิสาหกิจ                                                     องค์กรมีชีวิต องค์กรสุขภาวะ มีแผนมุ่งมั่นพัฒนาคนที่ชัดเจน ปรับ
           สงขลานครินทร์และมูลนิธิชัยพัฒนา การพัฒนาการเลี้ยงแพะใน  ชุมชน OTOP ภาคใต้และภาคใต้ชายแดน” มีรัฐมนตรีช่วยว่าการ                                                             วิธีการบริหารจัดการให้ครองใจประชาคม ปรับนโยบาย วิธีการ
           ภาคใต้มาจากพระราชประสงค์ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ  กระทรวงศึกษาธิการ และมีที่ปรึกษาธุรกิจเข้าร่วมทำา MOU กับ                                                             ประกันคุณภาพ การประเมินผลเพื่อพัฒนาขีดความสามารถ ไม่ใช่
           สยามบรมราชกุมารี องค์ประธานมูลนิธิชัยพัฒนา ที่จะทรงส่งเสริม  คณะวิทยาการจัดการ โดยวัตถุประสงค์ของบันทึกข้อตกลง เพื่อให้                                                    เพียงเพื่อพิจารณาความดีความชอบ
           อาชีพให้เกษตรกรในจังหวัดชายแดนภาคใต้  โดยให้คณะ    ทางมหาวิทยาลัยได้ร่วมกับที่ปรึกษาธุรกิจตกลงร่วมมือในการพัฒนา
           ทรัพยากรธรรมชาติดำาเนินการศึกษาทดลอง ตั้งแต่ปี 2556 โดยเริ่ม  อาสาให้ความช่วยเหลือแนะนำาการดำาเนินงาน อาทิ ด้านการเงิน                                                         1. แผนพัฒนามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ช่วง
           จากการเลี้ยงแพะเนื้อพันธุ์แบล๊คเบงกอล จำานวน 4 ตัว ส่วนแพะ  การบัญชี การผลิต การตลาด การบริหารทรัพยากรมนุษย์ให้แก่                                                         4 ปี (พ.ศ. 2561-2565)
           นมพันธุ์ชามีที่พระราชทานครั้งนี้ มีจำานวน 5 ตัว เป็นเพศผู้ 1 ตัว  องค์กรชุมชน กลุ่มผู้ประกอบการ OTOP ประชาชน และโรงเรียน                                                       มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์กำาหนดวิสัยทัศน์เป็น
           และเพศเมีย 4 ตัว นำามาจากศูนย์วิจัยเทคโนโลยีชีวภาพ ย้ายฝากตัว  ที่ต้องการคำาปรึกษาในพื้นที่ภาคใต้ เพื่อปฏิบัติงานในพื้นที่เห็นชอบ                                          มหาวิทยาลัยเพื่อนวัตกรรมและสังคม ที่มีความเป็นเลิศทางวิชาการ
           อ่อนและเซลล์สืบพันธุ์ กรมปศุสัตว์ อำาเภอปากช่อง จังหวัด  ร่วมกัน พัฒนาธุรกิจฐานรากในพื้นที่ภาคใต้ เพื่อยกระดับให้เป็น                                                      เป็นกลไกหลักในการพัฒนาภาคใต้ ประเทศมุ่งสู่มหาวิทยาลัยชั้นนำา
           นครราชสีมา เพื่อให้คณะทรัพยากรธรรมชาติเป็นผู้เก็บข้อมูลทาง  ธุรกิจที่เข้มแข็ง โดยการตกลงร่วมกัน พร้อมทั้งมหาวิทยาลัยร่วมกับ                                                1 ใน 5 ของอาเซียน ภายในปี พ.ศ. 2570 โดยมีพันธกิจในการสร้าง
           วิชาการ รวมทั้งพัฒนาขยายพันธุ์เพื่อส่งเสริมอาชีพแก่ราษฎรใน  ที่ปรึกษาธุรกิจร่วมมือในการพัฒนาความรู้ และประสบการณ์ที่ได้                                                    ความเป็นผู้นำาทางวิชาการและนวัตกรรม โดยมีการวิจัยเป็นฐานเพื่อ
           พื้นที่ โดยได้รับการสนับสนุนจากหลายฝ่าย เช่น กรมปศุสัตว์ และ  รับเพื่อนำาไปสู่การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การเรียนการสอน การฝึก                                                  การพัฒนาภาคใต้และประเทศ เชื่อมโยงสู่สังคมและเครือข่ายสากล
           กรมชลประทาน                                        อบรมร่วมกัน และร่วมกันเผยแพร่ให้กับสาธารณชนได้รับทราบ
   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122