Page 238 - เหนือเกล้าชาวสงขลานครินทร์
P. 238

ต่อมาปาล์มน�้ามันได้มีการปลูกกันอย่างแพร่หลายมากขึ้นในภาคใต้  ทั้งแบบสวนปาล์มขนาดใหญ่ของ
                   เอกชน และสวนปาล์มขนาดเล็กของกลุ่มเกษตรกร ซึ่งส่วนใหญ่เป็นสมาชิกนิคมสร้างตนเองและสหกรณ์นิคม
                   มีการสร้างโรงงานสกัดน�้ามันปาล์มขนาดใหญ่ขึ้นหลายแห่ง เพื่อรองรับผลผลิตปาล์มน�้ามัน แต่ก็ไม่เพียงพอที่
                   รองรับผลผลิตของกลุ่มเกษตรกรรายย่อย  ซึ่งมีจ�านวนมากโดยเฉพาะในช่วงฤดูฝน มีผลผลิตปาล์มจ�านวนมาก

                   ออกมาพร้อม ๆ กัน เกษตรกรต้องจ้างรถบรรทุกผลผลิตไปคอยที่โรงงานเฉลี่ยนานกว่า ๑๐ วัน จึงประสบ
                   กับความเดือดร้อนเป็นอย่างมาก ในปี พ.ศ. ๒๕๒๖ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงทรงมีพระราชกระแสรับสั่ง
                   ให้คณะผู้วิจัยจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ท�าการออกแบบวิจัยและพัฒนาโรงงานสกัดน�้ามันปาล์ม
                   ขนาดเล็กขึ้น อีกครั้งหนึ่ง โดยให้ลงทุนต�่า มีกระบวนการผลิตง่ายไม่ซับซ้อน และออกแบบให้น�าผลพลอยได้
                   ต่างๆ กลับมาใช้ประโยชน์ให้ได้มากที่สุด และให้ของบประมาณจากส�านักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อ
                   ประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ  (สน.กปร.) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้ด�าเนินการสนอง

                   พระราชด�าริในปี ๒๕๒๗ เป็นต้นมาโดยมี  ผศ.ดร.ผาสุข กุลละวณิชย์ เป็นหัวหน้าโครงการ ท�าการส�ารวจ
                   ปัญหาและความต้องการของเกษตรกรสวนปาล์มรายย่อย พร้อมกับได้สร้างโรงงานสาธิตขึ้นที่บริเวณที่ว่าง
                   หลังโรงหล่อโลหะ คณะวิศวกรรมศาสตร์
                         คณะผู้สร้างโรงงานสาธิตได้ท�าการออกแบบวิจัยและพัฒนาเครื่องจักรและอุปกรณ์สกัดน�้ามันปาล์มที่
                   ขนาดก�าลังการผลิตประมาณวันละ ๒ ตันทะลาย โดยเลือกใช้กระบวนการทอดผลปาล์มด้วยน�้ามันปาล์มดิบเพื่อ

                   ให้ผลปาล์มสุก และไล่ความชื้นออกจากผลปาล์มแทนการอบด้วยไอน�้าท�าให้ไม่มีน�้าเสียจากกระบวนการผลิต
                   และได้สร้างเครื่องหีบซึ่งมีทั้งเครื่องหีบไฮโดรลิคส์ และเครื่องหีบเพลาเดี่ยว เครื่องกรองน�้ามันแบบแผ่นอัด



























                            เสด็จ ฯ ทอดพระเนตรโรงงานสาธิตที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เมื่อวันที่ ๒๓ กันยายน  ๒๕๒๘




            234
   233   234   235   236   237   238   239   240   241   242   243