Page 47 - ศิษย์เก่าดีเด่น ปี ๖๐
P. 47
46
ต�าแหน่งทางบริหาร
พ.ศ.2550-2554 ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร สาขาวิชาวิทยาศาสตร์บัณฑิต
สาขาวิชาพืชศาสตร์ ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ
พ.ศ.2554-ปัจจุบัน ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ
ุ
ั
ั
พ.ศ.2553-ปจจบน ผู้อ�านวยการสถานความเป็นเลิศเทคโนโลยีชีวภาพเกษตรและทรัพยากรธรรมชาต ิ
คณะทรัพยากรธรรมชาติ
ผลงานและเกียรติคุณเด่น
ี
ได้รับการยอมรับเป็นอย่างดีจากสังคมโดยรวมและผู้เก่ยวข้องมีผลงานวิจัยอย่างต่อเนอง
่
ื
้
�
ั
�
ั
ิ
้
ื
ั
ิ
่
้
และ ก้าวหน้ามาเป็นลาดับท้งในงานด้านเทคโนโลยีชีวภาพปาล์มนามันเร่ม ตงแตงานวจยพนฐาน
ทางด้านการเพาะเลี้ยงใบอ่อนของปาล์มน�้ามันในปี 2530 เป็นต้นมาจนประสบผลส�าเร็จในการขยาย
�
้
พันธุ์ปาล์มนามันด้วยวิธีการไม่อาศัยเพศได้เป็นแห่งแรกของประเทศไทยต้นท่ได้มีความตรงตามพันธุ์
ี
และให้ผลผลิตสูงต่อมาและพัฒนาการสร้างต้นอ่อนชุดที่ 2 เพิ่มประสิทธิภาพในการขยายพันธุ์จ�านวน
มากเชิงพาณิชย์ซึ่งได้รับการสนับสนุนทุนการวิจัยจากหลายหน่วยงาน
�
ั
ั
ิ
ั
ึ
พัฒนาระบบการเพาะเลี้ยงเซลล์ในถังหมักระบบก่งจมจึงทาให้ได้รบรางวลการวจยจาก
มูลนิธิเทโรเม่อปี 2545
ื
ั
ี
ิ
ื
ี
ิ
พฒนาระบบยนทมประสทธภาพโดยตรงด้วยเคร่องเร่งอนุภาคและโดยอ้อมผ่านอะโกร
ี
่
�
แบคทีเรียม ยีนท่กาลังถ่ายเป็นยีนต้านทานสารกาจัดวัชพืชและยีนทนเค็ม เป็นต้น ซ่งผลงานดัง
ึ
�
ี
กล่าวได้ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารทางวิชาการทั้งในระดับชาติและนานาชาติปีละ 35 เรื่องจนเป็นที่
รู้จักของชาวต่างชาติที่ท�าวิจัยในเรื่องปาล์มน�้ามันและก�าลังจะท�าโดยเฉพาะประเทศฝรั่งเศส ญี่ปุ่นก่อให้
เกิดความร่วมมือในงานวิจัยในเชิงลึกระหว่างภาควิชาพืชศาสตร์คณะทรัพยากรธรรมชาติ กับประเทศ
ฝรั่งเศสและมหาวิทยาลัยซุคุบะ มหาวิทยาลัยมิยาซากิ ประเทศญี่ปุ่นทั้งในรูปแบบการแลกเปลี่ยนนัก
วิจัยและนักศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาปีละ 35 คนท�าให้นักศึกษามีประสบการณ์ในการท�าวิจัยระดับ
นานาชาติมากยิ่งขึ้น
ื
ี
ื
ื
พัฒนาเคร่องหมายโมเลกุลทเฉพาะเพ่อคัดเลอกต้นปาล์มนามนผิดปกตท่ได้จากการเพาะ
ี
ิ
่
้
�
ั
เลี้ยงเนื้อเยื่อลดความสูญเสียที่จะเกิดกับเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน�้ามันในระยะยาว
ี
�
ได้มีการคิดค้นการทาวิจัยในลักษณะเดียวกับยางพาราซ่งเป็นพืชเศรษฐกิจท่สาคัญของ
ึ
�
ั
ประเทศไทยและได้รับการแต่งต้งให้เป็นท่ปรึกษาในการแนะนาการถ่ายทอดยีนเข้าสู่ยางพาราให้กับ
ี
�
บริษัทซูมิโตโมอุตสาหกรรมจ�ากัดในปี 2555 จนถึงปัจจุบันจากผลส�าเร็จของการวิจัยข้างต้นได้ผลิต
มหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิตรวมทั้งสิ้นประมาณกว่า 50 คนในจ�านวนนี้เป็นมหาบัณฑิต 40 คนที่
เหลือเป็นดุษฎีบัณฑิต ซึ่งบัณฑิตทั้งหมดเป็นก�าลังส�าคัญในด้านการผลิตปาล์มน�้ามันในระดับต้นน�้าที่มี
ประสิทธิภาพต่อไป เป็นศูนย์กลางอาหารและเกษตร start up ในโครงการการผลิตกล้วยน�้าว้าปากช่อง
50 ส�าหรับการต่อยอดเชิงพาณิชย์ให้กับวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดสงขลา กล้วยหอมเขียวให้กับบริษัท ฟุก
เทียน จ�ากัด กล้วยพันธุ์อื่นให้กับโรงเรียนมัธยมชะแล้วิทยาและเกษตรกรบางรายที่ได้ลงทุนจัดตั้งห้อง