Page 16 - ทรัพยากรการท่องเที่ยวไทยชุดภาคใต้ (สงขลา)
P. 16

ศิลปวัฒนธรรม




                       สถาปัตยกรรม   ที่โดดเด่นได้แก่
               ศิลปกรรม  สถาปัตยกรรมของพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม กรุงเทพมหานคร ร่วมกับช่างประจ�าเมืองสงขลา
                       พระอุโบสถวัดมัชฌิมาวาสวรวิหาร เป็นสถาปัตยกรรมแบบไทยสมัยรัตนโกสินทร์ โดยย่อส่วน และปรับปรุงจากรูปแบบ


                       อาคารพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสงขลา ลักษณะสถาปัตยกรรมแบบจีน เดิมเป็นบ้านพักของพระยาสุนทรรักษ์ (เนตร ณ  สงขลา)
                    ผู้ช่วยราชการเมืองสงขลา ต่อมาได้ใช้เป็นบ้านพักข้าหลวงตรวจการมณฑลนครศรีธรรมราช ที่ตั้งศูนย์การปกครองที่สงขลา แล้วใช้

                    เป็นศาลากลางจังหวัดสงขลา กรมศิลปากรได้บูรณะซ่อมแซมและใช้เป็นอาคารพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสงขลา
                       พระมาลิกเจดีย์ศรีรัตนมหาธาตุ  วัดพะโคะ  สร้างขึ้นตามแบบศิลปกรรมทางใต้สมัยอยุธยาแบบอย่างศิลปะลังกา คล้ายกับพระ
                    มหาธาตุ จังหวัดนครศรีธรรมราช พระเจดีย์องค์นี้มียอดเบญจโลหะพระราชทานจากพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา พระมาลิก-
                    เจดีย์ศรีรัตนมหาธาตุ  มีลักษณะเป็นสถาปัตยกรรมแบบไทยภาคใต้ในสมัยอยุธยา มีเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น แม้จะมีการบูรณะหลาย

                    ครั้ง แต่ยังคงรักษาลักษณะของความเป็นต้นแบบดั้งเดิมเอาไว้ได้อย่างดี
                       ประติมากรรม ที่น่าสนใจ คือ
                       ลวดลายปูนปั้นที่หน้าบันพระอุโบสถ วัดดีหลวง ต�าบลชุมพล อ�าเภอสทิงพระ เป็นประติมากรรมที่แสดงถึงความโดดเด่นของ
                              ิ
                    ฝีมือช่างท้องถ่นภาคใต้ โดยเฉพาะปูนปั้นรูปพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณและเทวดาในลายก้านต่อดอกและลายปูนปั้นท่บริเวณหน้าบัน
                                                                                                          ี
                    ศาลาไม้เก่าแก่
                       ประติมากรรมปูนปั้นรูปเทพพนม วัดแหลมพ้อ ต�าบลเกาะยอ อ�าเภอเมืองสงขลา เป็นประติมากรรมที่มีคุณค่า ฝีมือช่างพื้น
                    เมืองภาคใต้ เป็นส่วนตกแต่งพระอุโบสถ ใบเสมา หอระฆัง และเจดีย์
                                                                                �
                                                                       �
                       ลานประติมากรรมลวดลายปูนปั้นประดับและลงสี วัดสลักป่าเก่า ตาบลชิงโค อาเภอสิงหนคร บริเวณกรอบประตู หน้าต่า หน้าบัน
                    บริเวณกรอบประตูเป็นลายเครือเถาช่อมาลัย  ช่วงต่อหลังคากับปีกนกเป็นรูปปั้นยักษ์หรือเทวดาประทับนั่งในวิมาน เรือนยอด และ
                    มีเทวดาอื่นๆ รายล้อมอยู่นอกกรอบวิมานสัมพันธ์กับลายพรรณพฤกษาที่ประดับเต็มพื้นที่
                       ลานปูนปั้นที่หน้าบัน วัดหนองหอย ต�าบลวัดขนุน อ�าเภอสิงหนคร เป็นรูปพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ ประกอบลายกระจังและ
                    ลายพรรณพฤกษา ที่หน้าจั่วหลังคาด้านหลังมีลายปูนปั้นพระพุทธประวัติตอนมหาภิเนษกรมณ์ มีเทวดามารองรับเท้าม้า ไม่แสดง

                                                             ั
                    ภาพเจ้าชายสิทธัตถะ แต่แสดงภาพพระพุทธเจ้าประทับน่งบนดอกบัวลอยอยู่สูงข้นไปเหนือรูปม้า เป็นการสร้างสรรค์จากแนวคิดหรือ
                                                                               ึ
                    ความเข้าใจในพระพุทธศาสนาที่ลึกซึ้งของช่างท้องถิ่น



























                                                                                                                      13





        57-09-066_001-092 Songkhla_new20-01_A-SCG.indd   13                                                       1/20/15   7:59 PM
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21