Page 20 - ทรัพยากรการท่องเที่ยวไทยชุดภาคใต้ (สงขลา)
P. 20
ลากพระตักบาตรเทโว
ส่วนการละเล่นพื้นบ้านของผู้ใหญ่ คือ มโนราห์ เป็นศิลปะการแสดงพื้นบ้านที่เป็นที่นิยมของคนสงขลา มีการแสดง ๒ รูปแบบ
คือโนราประกอบพิธีกรรม (โนราลงครู หรือโนราโรงครู) และโนราเพื่อความบันเทิง หนังตะลุง เป็นศิลปะการแสดงพื้นบ้านประจ�า
ถิ่นอีกอย่างหนึ่งของชาวสงขลา หนังตะลุงในจังหวัดสงขลาที่มีชื่อเสียง และได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติให้เป็นศิลปินแห่งชาติสาขาการ
แสดงพื้นบ้าน (หนังตะลุง) ได้แก่ หนังกั้น ทองหล่อ (บ้านน�้ากระจาย ต�าบลพะวง อ�าเภอเมืองสงขลา) หนังอิ่มเท่ง (ต�าบลรัตภูมิ
อ�าเภอควนเนียง) หนังฉิ้น อรมุต (บ้านธรรมโฆษ ต�าบลสทิงหม้อ อ�าเภอสิงหนคร) หนังนครินทร์ ชาทอง (ต�าบลบ้านพรุ อ�าเภอ
หาดใหญ่) เป็นต้น
อาหารการกิน อาหารพื้นบ้านที่เป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดสงขลามีการผสมผสานกันระหว่าง อาหารไทย จีน และอิสลาม เช่น
หมูสตู เนื้อนุ่ม น�้าซุปเข้มข้น กินกับข้าวสวยร้อนๆ ร้านอร่อยและดั้งเดิมอยู่บนถนนเก้าห้อง หรือถนนนางงาม
ต้มใส่ไส้ เป็นอาหารว่างนิยมรับประทานในตอนบ่าย มีลักษณะคล้ายบะจ่างของจีน ผสมผสานกับขนมต้มสามเหลี่ยมของไทย
ใส่ไส้ประกอบด้วยหมู ไข่เค็ม กะทิ เกลือ น�้าตาล ซีอิ๊วด�า กระเทียม น�้ามัน นิยมกินตอนเช้ากับกาแฟ หรือรับประทานเป็นอาหาร
ว่างในตอนบ่าย
เต้าคั่ว ประกอบด้วยเส้นหม่ลวก เต้าหู้เหลืองทอด เลือดหมูต้มสุก หมูต้มหรือหัวหมูต้ม กุ้งชุบแป้งทอด ห่นบางๆ ถ่วงอกลวก
ี
ั
ั
ผักบุ้งลวก แตงกวาหั่นบางๆ ไข่ต้มเป็นยางมะตูม ราดด้วยน�้าจิ้มรสชาติเปรี้ยวหวาน
ขนมบอก ส่วนผสมส�าคัญประกอบด้วย แป้งข้าวเหนียว น�้าตาลปี๊บ และมะพร้าว ขั้นตอนการท�าเริ่มจากการน�าแป้งข้าวเหนียว
มาผสมกับน�้าตาลปี๊บ แล้วคลุกเคล้าให้เข้ากัน จากนั้นน�าไปตากแดด แล้วน�ามาอบไอน�้า โดยการน�าแป้งข้าวเหนียวและน�้าตาลปี๊บที่
ผ่านการคลุกเคล้าเป็นเนื้อเดียวกัน มาโรยใส่กระบอกที่เตรียมไว้ เพื่อน�าไปอบไอน�้า ใช้เวลา ๒ - ๓ นาที เสร็จแล้วเทขนมออกจาก
กระบอก คลุกกับมะพร้าวที่เตรียมไว้
ข้าวมันแกงไก่ เป็นข้าวสวยที่หุงด้วยน�้ากะทิ กินกับแกงกะทิไก่ มะขามอ่อนต�าปนกับพริกไทย กุ้งหวาน เต้าคั่ว เส้นหมี่หุ้น กิน
�
้
้
ั
�
้
กบนาปรุงรสท่ทาจากนาตาลโตนด หัวหมูห่นบางๆ กุ้งทอด ไข่ยางมะตูม เลือดหมู ผักบุ้งลวก แตงกวาฝานบางๆ ใส่พริกนาส้มปรุงรส
ั
�
�
ี
17
57-09-066_001-092 Songkhla_new20-01_A-SCG.indd 17 1/20/15 8:00 PM