Page 18 - ทรัพยากรการท่องเที่ยวไทยชุดภาคใต้ (สงขลา)
P. 18

จิตรกรรมฝาผนัง วัดพะโคะ  อ�าเภอสทิงพระ เป็นภาพเขียนรุ่นใหม่ เขียนขึ้นระหว่าง พ.ศ. ๒๕๑๘ - ๒๕๑๙ ที่ฝาผนังศาลา
                    การเปรียญ ลักษณะเป็นภาพปริศนาธรรมตามแบบสวนโมกขพลาราม อ�าเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี ภาพจิตรกรรมทั้งหมดเน้น
                    เนื้อหามากกว่างานทางด้านศิลปะ เพื่อต้องการแสดงข้อธรรมะ จึงดูด้อยด้านศิลปะ ขาดความประณีตบรรจง แต่ก็นับว่าเป็นภาพที่มี

                    คุณค่าในการศึกษาธรรมะ
                       หัตถกรรม ที่น่าสนใจได้แก่
                       การแกะรูปหนังตะลุง เป็นงานหัตถกรรมท่โดดเด่น
                                                      ี
                                             ี
                    ในภาคใต้ หน่งในผู้มีฝีมือเป็นท่ยอมรับของนายหนัง
                               ึ
                    ตะลุงของจังหวัดสงขลา คือ นายหนังสงฟ้า ศรีทวีกูล
                    (ถึงแก่กรรมแล้ว) เป็นชาวควนเนียงท่หันมาประกอบ
                                                 ี
                    อาชีพแกะรูปหนังตะลุง และส่งเสริมการฝึกหัดแสดง
                    หนังตะลุงแก่ผู้สนใจทั้งเด็กและผู้ใหญ่ โดยมีลูกชายคือ

                    นายสรรเสริญ ศรทวกูล เป็นผ้สืบทอด ฝีมือการแกะ
                                           ู
                                    ี
                                 ี
                    รูปหนังตะลุงของนายหนังสงฟ้าเป็นท่ยอมรับของนาย
                                                ี
                    หนังและชาวต่างประเทศ จนได้รับเกียรติให้ร่วมแสดง
                    ฝีมือในการแกะรูปหนังตะลุงประกอบนิทรรศการงาน
                          ี
                    ศิลปะเก่ยวกับทะเลของศิลปินชาวอิตาลีท่มาจัดแสดง ณ
                                                  ี
                                                                                               หัตถกรรมกรงนก บ้านสะกอม
                    หอศิลปกรรมทักษิณ สถาบันทักษิณคดีศึกษา
                                       ื
                       หัตถกรรมกระเบ้องดินเผาเกาะยอ  เป็น
                                                                       �
                    อุตสาหกรรมในครัวเรือนของชาวเกาะยอในอดีต โดยมีชาวจีนเป็นผู้นาเข้ามาเผยแพร่ในเมืองสงขลา นอกจากบ้านท่านางหอม สทิง
                    หม้อ และบ้านบ่อพลับแล้ว  ปัจจุบันยังปรากฏซากเตาเผาอยู่ในหมู่ที่ ๔ บ้านสวนทุเรียน หมู่ที่ ๕ บ้านท่าไทรและหมู่ที่ ๗ บ้านป่า
                    โหนด ซากเตาเผาเหล่านี้จะอยู่ตามแนวริมตลิ่ง ผลิตภัณฑ์ที่น่าสนใจ ได้แก่ โอ่ง อ่าง ไห หม้อตุก กระเบื้อง และพะเนียง เป็นต้น

                    ปัจจุบันเหลือเพียงการสาธิต เพื่อการเรียนรู้เท่านั้น
                       หัตถกรรมผ้าทอเกาะยอ มีความประณีต และมีลวดลายสวยงาม ถือได้ว่าเป็นศิลปหัตถกรรมพื้นบ้านของจังหวัดสงขลาจนเป็น
                          �
                                   �
                    หน่งในคาขวัญของอาเภอเมืองสงขลาว่า “สมิหลาตระการตา งามสง่าสะพานติณฯ ทักษิณคดีสถาน ตานานรัฐบุรุษ สูงสุดเขาตังกวน
                                                                                               �
                      ึ
                    เสน่ห์ล้วนผ้าเกาะยอ” นอกจากนั้น สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ พระบรมวงศานุวงศ์ และเจ้านายฝ่ายสตรีได้ใช้ฉลอง
                    พระองค์ และแต่งกายด้วยผ้าทอเกาะยอ
                       วัฒนธรรม
               วัฒนธรรม  พุทธ มุสลิม และคนไทยเชื้อสายจีน ดังนี้             ี                           ่
                       ประเพณี พิธีกรรมเกี่ยวกับความเชื่อทางศาสนาของชาวสงขลาในรอบปมีความผิดแผกแตกต่างกันไปตามแตละศาสนา ทั้งไทย



                                            �
                       งานประเพณีถือศีลกินเจ อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จัดข้นบริเวณสวนหย่อมท่งเซียเซ่ยงต๊ง และศาลเจ้าต่างๆ ในเขต
                    อ�าเภอหาดใหญ่ ช่วงเดือนตุลาคม                      ึ                     ี  ึ
                       งานประเพณีวันว่าง หรือวันขึ้นปีใหม่ไทย หรือวันสงกรานต์ ตรงกับวันที่ ๑๓ เมษายน นับเป็นวันว่าง ทุกครัวเรือนต่างจัดหา

                                                       ู้
                    อาหารคาวหวานไปถวายพระ สรงนาพระ รดนาผใหญ่ เล่นนาสงกรานต์ เป็นขนบธรรมเนียมท่รับมาจากพราหมณ์ แล้วนามาดัดแปลง
                                                                ้
                                                                                                            �
                                                                                        ี
                                                                �
                                             ้
                                             �
                                                     �
                                                     ้
                    วันนี้ได้เอาอัฐิบรรพบุรุษไปท�าบุญที่วัดด้วยเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ล่วงลับ เป็นวันกตัญญูต่อผู้มีพระคุณ
                       งานประเพณีลากพระและตักบาตรเทโว อ�าเภอเมืองสงขลา  จังหวัดสงขลา จัดขึ้นเป็นประจ�าทุกปีในวันแรม  ๑ ค�่า เดือน ๑๑
                    หรือ เดือนตุลาคมของทุกปี ณ เชิงเขาตังกวน พิธีเริ่มก่อนวันงานด้วยการห่มผ้าพระเจดีย์บนเขาตังกวน มีพิธีตักบาตรเทโวที่เขาตัง
                    กวน และประกวดการตกแต่งเรือพระ และขบวนแห่ มีการแสดงทางด้านศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านด้วย
                                                                                                                      15




        57-09-066_001-092 Songkhla_new20-01_A-SCG.indd   15                                                       1/20/15   7:59 PM
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23