Page 89 - สงขลา
P. 89

บุคคลที่ส าคัญของหาดใหญ่                                                                        89









                                                                                                                      เจียกีซี จีระนคร






                                           ตลาดหาดใหญ่ได้เริ่มเป็นศูนย์กลางธุรกิจ                               มีการท าการค้า



                          กับชาวมลายูมากขึ้นเมื่อวันที่ ๒๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๗๑ ท้องที่ตลาด


                                                                         ุ
                          หาดใหญ่ได้ถูกยกฐานะให้เป็นสขาภิบาล ขุนนิพัทธ์ฯ ได้รับการแต่งตั้ง

                          ให้เป็นกรรมการสุขาภิบาลด้วย ต่อมาเมื่อ ๗ ธันวาคม ๒๔๗๘ ได้ยก



                          ฐานะเป็นเทศบาลต าบลหาดใหญ่ และเมื่อ ๑๖ มีนาคม ๒๔๙๒ ได้ยก



                          ฐานะเป็นเทศบาลเมืองหาดใหญ่ ก่อนที่ถูกยกเป็นเทศบาลนครหาดใหญ่


                          เมื่อปี ๒๕๔๐ ในราวปี พ.ศ. ๒๔๗๐ ขุนนิพัทธ์ฯ ได้ย้ายครอบครัวจาก


                          ห้องแถวริมถนนเจียกีซี หรือถนนธรรมนูญวิถีในปัจจุบัน ไปอยู่ที่ฝั่ง



                          ถนนเพชรเกษม แต่ขุนนิพัทธ์ฯ ก็มิได้หยุดพัฒนาเมือง ช่วงสงคราม



                          เอเชียบูรพา ทหารญี่ปุ่นได้ยกพลขึ้นมาถึงหาดใหญ่ พร้อมกับขอใช้บ้าน


                          ขุนนิพัทธ์ เป็นฐานบัญชาการย่อย แต่ขุนนิพัทธ์ฯ ไม่ยอมยกให้พร้อมกับ


                          ต่อรองให้ใช้บ้านฝั่งตรงกันข้าม ซึ่งคือสยาม-นครินทร์ในปัจจุบัน ซึ่ง



                          นายทหารญี่ปุ่นก็ยินยอมเพราะต้องการมวลชนผู้ใหญ่ในท้องถิ่น                                              เป็น



                          แกนหลักในการประสานกับประชาชน                                    และหลังจากทราบเจตนารมณ์


                          ของญี่ปุ่นแล้วว่า ต้องการเอาหาดใหญ่เป็นเพียงทางผ่าน ขุน-นิพัทธ์ฯ


                          จึงได้เข้าประชุมร่วมกับหน่วยงานราชการ                               เพื่อแจ้งให้ประชาชนที่ตกใจ



                                                  ั
                          หลบหนี              กลบมาประกอบอาชีพตามปกติ                              ซึ่งประชาชนก็กลับมาแต่


                          เศรษฐกิจหาดใหญ่ขณะนั้นแทบจะหยุดชะงักหมด เพราะผลของสงคราม


                          ขณะที่ญี่ปุ่นได้ทยอยเข้ามาหาดใหญ่จ านวนมากหลายกองพัน โดยมาพัก


                          ก่อนที่จะผ่านไปมาลายู พร้อมทั้งล าเลียงอาวุธหนักมาทางรถไฟ








                                                  S   O   N   G   K   H   L   A
   84   85   86   87   88   89   90   91   92