Page 43 - รายงานประจำปี ๒๕๖๐ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
P. 43

ห้องสมุด
                      ประเภททรัพยากร       หน่วย
                                                    HDY       MED       JFK     Trang    Surat    Phuket    รวม
                หนังสือภาษาต่างประเทศ       เล่ม    63,319   35,619    73,993   5,011     6,119   16,976   201,037

                หนังสือภาษาไทย              เล่ม   107,214   23,111   172,204  26,130    49,712   29,736   40,8107
                วารสารภาษาต่างประเทศ        ชื่อ       93         8        9      10          2      16       138

                วารสารภาษาไทย               ชื่อ       82        10      129      63         38      95       417
                หนังสือพิมพ์ภาษาต่างประเทศ  ชื่อ        2         1        5       1          1       3        13

                หนังสือพิมพ์ภาษาไทย         ชื่อ       18         2       25       1         12       7        65
                โสตทัศนวัสดุ                ชื่อ    14,449    1,998     8,743   2,037    13,687    2,719    43,633

                คอมพิวเตอร์สําหรับสืบค้น   เครื่อง     94        29      182      54          5       9       373
                ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์     ฐาน        13        13        2        -         -       3        31


               HDY หมายถึง สํานักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร  วิทยาเขตหาดใหญ่
               MED หมายถึง ห้องสมุดวิทยาศาสตร์สุขภาพ คณะแพทยศาสตร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
               JFK  หมายถึง ห้องสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้  วิทยาเขตปัตตานี
               Trang, Surat, Phuket หมายถึง ห้องสมุดของวิทยาเขตตรัง สุราษฎร์ธานี และภูเก็ต








               การพัฒนาหลักสูตร

                                                       1. กํากับการดําเนินงานหลักสูตรให้มีคุณภาพและทันสมัย
                                                       โดยการกําหนดปรัชญาการจัดการศึกษา นโยบายในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร
                                                   ื
                                                                                                               ื
                                                 เพ่อให้หลักสูตรใช้เป็นกรอบแนวทางในการพัฒนาบัณฑิต โดยมหาวิทยาลัยมีความเช่อว่า
                                                 บัณฑิตของมหาวิทยาลัยเป็นผู้ที่สามารถเรียนรู้ได้อย่างยั่งยืนตลอดชีวิต สามารถอยู่ในสังคม
                                                 ได้อย่างมีความสุข และปรับตัวได้ดีตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป ดังนั้นการผลิตบัณฑิต
                                                                 ้
                                                            ั
                                                                                     ู
                                                                                     ้
                                                                                   ู
                                                                                    ี
                                                                                                          ่
                                                                                   ้
                                                        ิ
                                                                                          ํ
                                                                                       ี
                                                                                            ิ
                                                                                                   ื
                                                                                                        ั
                                                 ของมหาวทยาลยจึงใชกระบวนการจัดการเรียนรท่ผเรยน ทากจกรรมหรอปฏิบตทหลากหลาย
                                                                                                          ี
                                                                                                         ิ
                                                 (Active  Learning)  ท้งในและนอกห้องเรียน โดยเฉพาะการใช้ปัญหาเป็นฐานใน
                                                                    ั
                                                 การเรียนรู้ (Problem-based Learning) การใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-based Learning)
                                                 และการเรียนร้โดยการบริการสังคม (Service Learning) และยึดพระราชปณิธานของสมเด็จ
                                                            ู
                                                 พระบรมราชชนก “ขอให้ถือประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง” เป็นแนวทางในการ
                                                 ดําเนินการ โดยกําหนดเป็นนโยบายในการพัฒนาและปรังปรุงหลักสูตร ดังนี้
                                                         1.1 หลักสูตรใหม่ต้องทันสมัย มีเอกลักษณ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของ
                                                                                           ์
                                                 มหาวิทยาลัย ความต้องการของตลาด ความจําเป็นในการพัฒนาบุคลากรเฉพาะด้าน คุณค่า
          42
 P S U  Annual Report 2017                                                                 P S U  Annual Report 2017   43 43  43 43
                                                                                           P S U  Annual Report 2017
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48