Page 42 - รายงานประจำปี ๒๕๖๐ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
P. 42

ในระดับมาก เฉลี่ย 4.14 ด้านคุณธรรมจริยธรรมของบัณฑิต นายจ้างมีความพึงพอใจสูงที่สุด คือ มีคะแนนเฉลี่ย 4.32 รองลงมาเป็นทักษะ
            ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ คะแนนเฉล่ย 4.21 ด้านความร้ความสามารถ คะแนนเฉล่ย 4.11 ด้านทักษะทางปัญญา
                                                                        ู
                                                           ี
                                                                                           ี
            คะแนนเฉลี่ย 4.08  ด้านทักษะการวิเคราะห์ การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ คะแนนเฉลี่ย 4.00  และด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับ
            จิตพิสัยทักษะทางวิชาชีพ คะแนนเฉลี่ย 3.99
                                     ู
                                                                             ่
                                                                             ี
                  การประเมินคุณภาพหลักสตร การประเมินคุณภาพภายในระดับมหาวิทยาลัยตามท สกอ. กําหนด ให้สถาบันอุดมศึกษาจัดทํารายงาน
                                                                                     ี
                                  ื
            ประจําปีการประเมินตนเอง เพ่อรายงานผลการดําเนินงานต่อต้นสังกัดและสาธารณชนเป็นประจําทุกป มหาวิทยาลัยจึงได้กําหนดภารกิจการ
                                                  ี
            ประเมินคุณภาพภายในไว้ในแผนการปฏิบัติงานทุกป โดยในรอบปีการศึกษา 2559 (ส.ค.2559-ก.ค.2560) มหาวิทยาลัยดําเนินการตามระบบ
            ประกันคุณภาพภายใน โดยใช้เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดําเนินการที่เป็นเลิศ (Education Criteria for Performance Excellence
            : EdPEx ) และรับประเมินโดยคณะกรรมการประเมิน โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ พ.ต.ท. ดร.นภดล ทองนพเนื้อ เป็นประธานกรรมการ ในช่วง
            วันที่ 30 ตุลาคม -1 พฤศจิกายน 2560 ระดับการประเมินในภาพรวมด้านกระบวนการ (Process Scoring Band) = 1 คือ มหาวิทยาลัย
                                                                    ์
                                                        ื
            แสดงให้เห็นว่ามีพัฒนาการและดําเนินการตามข้อกําหนดพ้นฐานของเกณฑ EdPEx ในระดับเร่มต้นโดยยังมีอุปสรรคในการนําแนวทาง
                                                                                  ิ
                                                                                               ้
                                                ี
                                                                                                ั
                                               ่
                                            ั
                                                                                         ็
                                                                     ั
                                                                         ุ
                                                         ้
                                                     ้
                                                                                                           ั
                                        ิ
                           ่
                             ํ
                                 ู
                           ื
            ตางๆ ไปถายทอดเพอนาไปสการปฏบตและยงไมมความกาวหนา การพยายามปรบปรงกระบวนการต่าง ๆ เปนการแกปญหาและการปรบปรง ุ
             ่
                   ่
                                      ิ
                                 ่
                                       ั
            แบบพื้นฐานในระดับเริ่มต้น และระดับการประเมินในภาพรวมด้านผลลัพธ์ (Result Scoring Band) = 1 คือ มหาวิทยาลัยมีการรายงาน
            ผลการดําเนินงานเพียงบางตัวท่ตอบสนองต่อข้อกําหนดพ้นฐานของเกณฑ EdPEx แต่ส่วนใหญ่ยังขาดการแสดงแนวโน้มและข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ
                                                    ื
                                  ี
                                                               ์
                                                                                                 ู
                                                                                        ื
                  การดําเนินการด้านทรัพยากรการเรียนร้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์มีแหล่งให้บริการสารสนเทศเพ่อการเรียนร้สําหรับนักศึกษาและ
                                              ู
            บุคลากรของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร โดยมีสํานักทรัพยากรการเรียนร คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร หอสมุดวิทยาศาสตร์สุขภาพ
                                                                   ้
                                                                   ู
                                           ์
            หอสมุดจอห์น เอฟ เคเนดี้ หอสมุดของวิทยาเขตต่าง ๆ ซึ่งมีหน้าที่สนับสนุนภารกิจด้านการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ และ
            การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัย สรุปข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุดมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ดังนี้
                 42 42
             P S U  Annual Report 2017
             P S U  Annual Report 2017                                                                                                                                                                            P S U  Annual Report 2017   43  43
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47