Page 36 - รายงานประจำปี ๒๕๕๗ ศูนย์องค์รวมเพื่อการศึกษาและบำบัดโรคมะเร็ง คณะแพทยศาสตร์
P. 36

การกลืนน้าแร่ไอโอดีนในการรักษา
                                                                   ำ
                                                      มะเร็งไทรอยด์

                                                      โดย  นพ.ธีรพล เปรมประภาส

                                                      สาขาวิชาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ ภาควิชารังสีวิทยา
                                                      คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์



                         ำ
                      น้าแร่ไอโอดีน คือ ธาตุไอโอดีน-131 ชนิดที่มีกัมมันตภาพรังสี ให้รังสีชนิดเบต้า เพื่อการรักษา ไอโอดีน
                    ที่รับประทานเป็นสารอาหาร คือ ไอโอดีน-127 ไม่มีรังสีเป็นสารตั้งต้นในการผลิตฮอร์โมนไทรอยด์ ไอโอดีน
                    ทั้งสองชนิดมีคุณสมบัติทางเคมีเหมือนกัน

                    บทบาทของน้าแร่ไอโอดีนในการรักษามะเร็งไทรอยด์
                                 ำ

                      1. ทำาลายเนื้อไทรอยด์และมะเร็งไทรอยด์ที่เหลือจากการผ่าตัด
                      2. ใช้รักษามะเร็งไทรอยด์ ที่แพร่กระจายไปอวัยวะอื่นๆ

                      3. ใช้สำาหรับถ่ายภาพสแกนเพื่อตรวจติดตามโรค

                    การเตรียมตัวก่อนการกินน้าแร่
                                              ำ
                      • ภายหลังการผ่าตัด 4 สัปดาห์ ไม่มีการกินฮอร์โมนไทรอยด์ทดแทน

                      • งดอาหารที่มีส่วนประกอบของไอโอดีน 2 สัปดาห์ไอโอดีนมีปริมาณมากในอาหารทะเลทุกชนิด

                      • คุมกำาเนิดอย่างเคร่งครัด
                      การกินนาแร่ภายหลังการผ่าตัดมะเร็งไทรอยด์กินแล้วกลับบ้านได้ จะได้รับคำาแนะนำาในการปฏิบัติตัว และ
                              ้
                              ำ
                    อยู่ร่วมกับคนอื่นใน 7 วันจากเจ้าหน้าที่ และควรคุมกำาเนิด 6 เดือน

                    การกินฮอร์โมนไทรอยด์

                      1. ทดแทนฮอร์โมนไทรอยด์ที่ร่างกายเคยสร้างเองได้

                                               ำ
                      2. กด TSH ลดโอกาสกลับเป็นซ้าของโรค ด้วยการให้ฮอร์โมนไทรอยด์ในปริมาณที่สูงกว่าปกติเล็กน้อย




























             36     รายงานประจำาปี 2557  ศูนย์องค์รวมเพื่อการศึกษาและบำาบัดโรคมะเร็ง
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41