Page 20 - รายงานประจำปี ๒๕๕๕ ศูนย์องค์รวมเพื่อการศึกษาและบำบัดโรคมะเร็ง คณะแพทยศาสตร์
P. 20

รายงานประจ�าปี 2555
            ศูนย์องค์รวมเพื่อการศึกษาและบ�าบัดโรคมะเร็ง




            บทเรียนที่ได้รับ :
                  •  การท�างานร่วมกันของสหสาขาวิชาชีพท�าให้มีมุมมองในการดูแลผู้ป่วยที่ครอบคลุม มีการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ใน
                    แต่ละสาขาวิชาชีพ
                  •  มีแนวทางในการดูแลผู้ป่วยที่ชัดเจน สามารถก�าหนดเป็นมาตรฐานการดูแลรักษา (Standard Operating  Procedure:
                    SOP) ส�าหรับการดูแลผู้ป่วยของสาขาวิชา
                  •  ผู้ป่วยใหม่ทุกรายได้รับความรู้ในการดูแลตนเองส�าหรับผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบ�าบัดครบถ้วน
                  •  สามารถพัฒนางานประจ�าไปสู่งานวิจัยแล้วน�าผลงานวิจัยมาพัฒนางานประจ�าให้มีคุณภาพมากขึ้น
                  •  ผู้ป่วยได้รับการดูแลอย่างองค์รวม ครอบคลุมทุกมิติด้านสุขภาพ


                    จากการพัฒนางานประจ�าไปสู่การบูรณาการระบบการดูแลรักษา
            อย่างองค์รวมส�าหรับผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบ�าบัด ทางทีมบ�าบัดองค์รวม
            ได้มีโอกาสเป็นตัวแทนของโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ไปน�าเสนอผลงาน
            คุณภาพ 3 ครั้ง คือ
                  1.  การคัดเลือกผลงานเด่นในระดับภาค “เรียนรู้บูรณาการ งานกับชีวิต”
            จัดโดยศูนย์เครือข่ายความร่วมมือเพื่อการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลภาคใต้
            เมื่อวันที่ 18-19 มกราคม 2555 ณ ห้องทองจันทร์ หงศ์ลดารมภ์ ศูนย์จัดการ
            ประชุมคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
                                th
                  2.  งานประชุม 13  HA National Forum “เรียนรู้บูรณาการ
            งานกับชีวิต” (Life as a Whole) จัดโดย สถาบันรับรองคุณภาพ
            สถานพยาบาล (องค์การมหาชน) – สรพ. เมื่อวันที่ 13-16 มีนาคม
            2555 ณ ศูนย์การประชุม IMPACT เมืองทองธานี
                  3.  งานมหกรรมคุณภาพภาคราชการ โรงพยาบาล และภาค
            รัฐวิสาหกิจ จัดโดย สมาคมส่งเสริมคุณภาพแห่งประเทศไทย (The
            Association of QC Headquarters of Thailand) ประจ�าปี 2555
            เมื่อวันที่ 26-27 เมษายน 2555 ณ ห้องประชุมใหญ่ ชั้น 6 อาคารกรม
            ส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 และได้รับการตรวจเยี่ยม โดยคณะกรรมการตัดสินกลุ่ม QC
            เมื่อวันที่ 5 กันยายน 2555 ที่โรงพยาบาลสงขลานครินทร์


            แผนการพัฒนา/ปรับปรุงโครงการ : จากการจัดกิจกรรม “โครงการส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจ เรื่อง โรคมะเร็งและคุณภาพชีวิต
            ของผู้ป่วย”  น�าไปสู่การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (Continuous Quality Improvement) ในโครงการวิจัย “ประสบการณ์
            การมีอาการ กลวิธีการจัดการอาการ และผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น ร่วมกับการให้ความรู้แบบจ�าเพาะ ในผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบ�าบัด”
            เพื่อศึกษาประสบการณ์การมีอาการที่พบได้บ่อย ลักษณะอาการที่เกิดขึ้น ความถี่และความรุนแรงของอาการ การจัดการ
            กับอาการและผลลัพธ์ในการจัดการกับอาการของผู้ป่วยมะเร็งที่มารับยาเคมีบ�าบัด โดยใช้แนวคิดการจัดการกับอาการ (Symptom
            management) (Dodd et al, 2001) มาเป็นแนวคิดในการศึกษาครั้งนี้ รวมทั้งศึกษาประสิทธิภาพโปรแกรมการให้ความรู้
            ผู้ป่วยในการดูแลตนเองเมื่อได้รับยาเคมีบ�าบัดผ่านกิจกรรมดังกล่าว ซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างการด�าเนินการเก็บข้อมูลวิจัย ซึ่งผลการ
            ศึกษาวิจัยที่ได้สามารถน�ามาวางแผนและพัฒนากระบวนการดูแลผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบ�าบัดของศูนย์องค์รวมเพื่อการศึกษา
            และบ�าบัดโรคมะเร็งให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น


            เอกสารอ้างอิง:
                  1.  Dodd  MJ, et al. Advancing the science of symptom management. J Adv Nurs 2001a;33(5):668-76.
                  2.  อภิญญา ปริสุทธิ์กุล, มลิวรรณ สุคันธพันธ์, ทิพย์วรรณ อรัญดร, อนงนาฏ เรืองด�า, อรุณี เดชาพันธุ์กุล, ภัทรพิมพ์
                    สรรพวีรวงศ์. ประสิทธิผลของโปรแกรมการให้ความรู้แก่ผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบ�าบัดต่อการเพิ่มพูนความรู้และลด
                    ความวิตกกังวลให้แก่ผู้ป่วย. วารสารโรคมะเร็ง. 2554 ตุลาคม- ธันวาคม 31(4):125-36.
         20
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25