Page 34 - รายงานประจําปี ๒๕๕๖-๕๘ ผลการดําเนินงานด้านการวิจัยและบัณฑิตศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนา
P. 34

33


                                                                          ิ
                                               6. การเผยแพรบทความวจัย

                  การตีพิมพบทความวิจัยในวารสารวิชาการระดับนานาชาต  ิ

                         จากจํานวนบทความวิจัยที่ไดรับการตีพิมพในวารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานขอมูล  ISI  และ  SCOPUS  ในชวง
                  ระหวางป  2010-2015  (รูปที่  6.1)  พบวามีแนวโนมเพิ่มขึ้นในสัดสวนคอนขางคงที่    สวนใหญเปนบทความวิจัยทางดาน
                  วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี    และในปจจุบันมหาวิทยาลัยไดใหความสําคัญกับการเพิ่มจํานวนบทความตีพิมพทางดานสังคม
                  ศาสตรและมนุษยศาสตรใหมากขึ้น  โดยการจัดตั้งหนวย  Publication  clinic  ขึ้น  มีภารกิจหลักในการเพิ่มจํานวนบทความ
                             ั
                  ตีพิมพทางดานสงคมศาสตรและมนุษยศาสตร
















                     รูปที่ 6.1   จํานวนบทความตีพิมพในวารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานขอมูล ISI และ SCOPUS ระหวางป 2010-2015
                                                     ุ
                                              หมายเหต  ขอมูล ณ วันที่ 23 มิถุนายน 2559

                         ขอมูลจํานวนบทความในฐานขอมูล WoS  เปรียบเทียบระหวางมหาวิทยาลย
                                                                                 ั
                         จากขอมูลจํานวนบทความในฐานขอมูล WoS และ SCOPUS ในระหวางป 2010-2015 เปรียบเทยบ 6 อันดับแรก
                                                                                              ี
                  ของมหาวิทยาลัยภายในประเทศ  ไดแก  ม.มหิดล  จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย  ม.เชยงใหม  ม.สงขลานครินทร  ม.ขอนแกน  และ
                                                                           ี
                  ม.เกษตรศาสตร นั้น  สําหรับ ม.สงขลานครินทร มจํานวนบทความทไดรับการตีพิมพเพิ่มขึ้นคอนขางคงท (รูปท 6.2)  และเมื่อ
                                                     ี
                                                                                           ี่
                                                                  ี่
                                                                                               ี่
                  พิจารณาจํานวนบทความตีพิมพในฐานขอมูล WoS จําแนกตามสาขา โดยแบงเปน 1) สาขา Science Citation Index (SCI-E)
                  2) สาขา Social Science Citation Index (SSCI) และ 3) สาขา Art & Humanities Citation Index (AHCI) (รูปที่ 6.3)
                  พบวามีจํานวนบทความตีพิมพในสาขา SCI-E มากที่สุด สวนในสาขา AHCI มีจํานวนนอยมาก ดังนั้นมหาวิทยาลัยจึงไดกําหนด
                  กลไกหรือแนวทางในการกระตุนการเพิ่มจํานวนบทความตีพิมพ  โดยเฉพาะบทความทางดานสังคมศาสตรและมนุษยศาสตรใน
                  ภาพรวมทั้งระบบ  ไมวาจะเปนเรื่องการใหทุนวิจัย การใหรางวัลผลงานตีพิมพ การพัฒนานักวิจัย รวมถึงระบบบัณฑิตศึกษา






















                           ี่
                       รูปท 6.2   จํานวนบทความตีพิมพในฐานขอมูล WoS เปรียบเทียบระหวางมหาวิทยาลัย ระหวางป 2010-2015
                                                     ุ
                                              หมายเหต  ขอมูล ณ วันที่ 23 มิถุนายน 2559
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39