Page 130 - รายงานประจำปี 2561 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
P. 130

128  P S U  Annual Report 2018  P S U  Annual Report 2018                                              129

 ท้องถิ่น เอกชน ชุมชนเพื่อร่วมสร้างเป็นเมืองต้นแบบด้าน Wellness      3.  บริษัทร่วมทุนมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์   ปัญญา ลงทุนในธุรกิจที่มีการประเมินและมีแผนธุรกิจ (business   เข้ามาถึงที่เกิดเหตุได้ล่าช้า เพราะไม่ชำานาญเส้นทางในเขตที่พัก
 Tourism City 5) สนับสนุนการเปิดหลักสูตรร่วมกันระหว่าง  (PSU Holding Company)   plan) ที่มีศักยภาพ ให้ความสำาคัญกับการลงทุนในธุรกิจที่มีผู้ร่วม  หน่วยดับเพลิงของมหาวิทยาลัยเองจึงมีความจำาเป็น ทีมงานของ
 วิทยาเขตเพื่อการ share – mobilize resources และใช้ระบบ         จากการที่มหาวิทยาลัยมีผลงานวิจัยและนวัตกรรม   ลงทุน มีแผนที่จะออกจากการลงทุน (exit plan) โดยมีผลตอบแทน  หน่วย ฯ ทำาหน้าที่วิทยากร ฝึกอบรมและแผนอพยพให้กับหน่วย
 Information Technology ในการบริหารจัดการการเรียนการสอน   จำานวนมาก มีการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการนำาองค์ความรู้   การลงทุนรวมเมื่อออกจากการลงทุนไม่น้อยกว่า 2 เท่าของเงิน  งานต่างๆ ทำาการตรวจเช็คอุปกรณ์ดับเพลิงให้กับหน่วยงานต่าง ๆ
 6) จัดสมดุลและวางความสอดคล้องระหว่างการเรียนการสอน การ  งานวิจัย เทคโนโลยีและนวัตกรรมและสินทรัพย์ของมหาวิทยาลัย   ลงทุน เน้นการลงทุนในบริษัทในขั้นเริ่มต้น (early stage : TRL   ให้มีประสิทธิภาพพร้อมใช้งาน เดือนละ 1 ครั้ง โดยบริการตรวจเช็ค
 จัดการงานวิจัย และบริการวิชาการ โดยใช้แหล่งทุนจากงานวิจัย  ไปลงทุนให้เกิดประโยชน์ต่อภาคธุรกิจ สังคม ชุมชน เพื่อสร้างราย  ระดับ 3 ขึ้นไป ) ซึ่งเป็นกลุ่มธุรกิจที่ต้องใช้เงินลงทุนในการปรับปรุง  ถังดับเพลิง 15 คณะ 8 หน่วยงาน รวมทั้งสิ้น 2,583 ถัง 2) ให้บริการ
 และงานบริการวิชาการมาหนุนเสริมการพัฒนาศักยภาพของ  ได้ให้แก่มหาวิทยาลัยและการสนับสนุนวงจรการวิจัย สอดคล้องกับ  ผลิตภัณฑ์และเริ่มต้นธุรกิจและกิจการเพื่อสังคม (social enter-  ด้านการกู้ชีพ กู้ภัย รับส่งผู้ป่วยฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุและเป็นเครือ
 อาจารย์และการเรียนการสอนของนักศึกษา ด้าน IT & Digital   ภารกิจของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตาม พรบ.มหาวิทยาลัยฯ   prise) ขนาดของการลงทุน (investment size) ประมาณ 3.5 – 10   ข่ายสถาบันการแพทย์ฉุกเฉิน พนักงานกู้ชีพทุกคนผ่านการอบรมใน
 University มีแนวทางการดำาเนินงาน ได้แก่ 1) พัฒนาระบบ  ที่สามารถจัดตั้งบริษัทและร่วมลงทุนได้ จึงได้จัดตั้งบริษัท ร่วมทุน  ล้านบาท ทั้งนี้ การลงทุนอาจเป็นการลงทุนด้วยเงิน สินทรัพย์ และ  หลักสูตร การปฏิบัติการฉุกเฉิน และร่วมซ้อมแผนความปลอดภัย
 สารสนเทศและพัฒนาเทคโนโลยี/สื่อการเรียนรู้ไปสู่รูปแบบ Smart   มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (PSU Holding Company) เป็น  การแปลงทรัพย์สินทางปัญญา (intellectual property) ระยะเวลา  เมืองหาดใหญ่ ร่วมกับทหาร กองอำานวยการรักษาความมั่นคง
 Learning ที่สนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning)   นิติบุคคล ในการบริหารจัดการ กำากับ ดูแล การลงทุนของ  การลงทุนประมาณ 3 ถึง 8 ปี (โดยมี exit plan เฉลี่ยประมาณ 5 ปี)   ภายในราชอาณาจักร (กอ.รมน. สงขลา ทั้งยังเป็นวิทยากร การใช้
 ทั้งในชั้นเรียนนอกห้องเรียนและการเรียนรู้ด้วยตัวเอง 2) สร้างความ  มหาวิทยาลัยในการนำาองค์วามรู้ งานวิจัย เทคโนโลยี นวัตกรรม ให้  เครื่องกระตุกหัวใจด้วยไฟฟ้าแบบอัตโนมัติ ปฏิบัติการเพื่อช่วยให้
 สมบูรณ์ขององค์ประกอบระบบนิเวศในความเป็น E – University   เกิดประโยชน์ต่อภาคธุรกิจ สังคมและชุมชน บริหารจัดการการ     4.  หน่วยฉุกเฉินและบรรเทาสาธารณภัย  ฟื้นคืนชีพ (AED:automated external defibrilator) 3) ให้บริการ
 3) เชื่อมโยงระบบข้อมูลสารสนเทศจากระดับคณะ/ส่วนงาน/  ลงทุนของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ส่งเสริมและสนับสนุนให้        มหาวิทยาลัยมีนโยบายจัดตั้งและขับเคลื่อนหน่วย  ฉุกเฉินทางยานพาหนะ เช่น พ่วงแบตเตอรี่รถ สำาหรับรถยนต์ เปลี่ยน
 วิทยาเขตให้เป็นระบบสารสนเทศทางการบริหารและนำาไปสู่การ  เกิดการนำาองค์ความรู้ งานวิจัยเทคโนโลยีและนวัตกรรมและ  ฉุกเฉินและบรรเทาสาธารณภัยเพื่อมาดูแลช่วยเหลือบุคลากรและ  ยาง และล้อยางในที่เกิดเหตุ เก็บค่าใช้จ่ายตามต้นทุน ปะยางฟรี 24
 สังเคราะห์ตัดสินใจของฝ่ายบริหาร 4) บริหารจัดการความรู้เพื่อ  สินทรัพย์ของมหาวิทยาลัยไปลงทุนให้เกิดประโยชน์ต่อภาคธุรกิจ   นักศึกษา โดยได้สนับสนุนบุคลากรและครุภัณฑ์เพื่อให้สามารถ  ชั่วโมง ทั้งรถมอเตอร์ไซค์และรถยนต์ 4) บริการจับสัตว์เลื้อยคลาน
 สร้างบริบทการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่เปิดกว้างผ่านเครือข่ายสังคม  สังคม ชุมชน เพื่อการสร้างวงจรรายได้จากผลงานวิจัยและ  ทำางานตรงตามเจตนารมณ์ มีนโยบายจะจัดซื้อรถดับเพลิงและรถ  มีพิษ เช่น งู และสัตว์ เช่น สุนัข การอยู่เวรยาม 24 ชั่วโมง ช่วยให้
 ออนไลน์แก่ทุกกลุ่มประชากร ด้านโครงสร้างการบริหารและระบบ  นวัตกรรมให้แก่มหาวิทยาลัย โดยมีจำานวนหุ้นสามัญที่ออกจำานวน   มอเตอร์ไซค์กู้ชีพมาให้บริการ เป็นหน่วยเคลื่อนที่เร็ว มีเจ้าหน้าที่  เกิดความปลอดภัย และอบอุ่นใจ โดยเฉพาะช่วงที่มหาวิทยาลัยจัด
 งาน มีแนวทางการดำาเนินงาน ได้แก่ 1) จัดโครงสร้างการบริหาร  10 ล้านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท รวมเป็นเงินจำานวน 100 ล้าน  หน่วยฉุกเฉินและบรรเทาสาธารณภัย ทำางานกันอย่างเสียสละ ได้  กิจกรรมต่าง ๆ
 องค์กรที่สั้นกระชับเพื่อประโยชน์ในการสั่งการการสื่อสารที่รวดเร็ว  บาท และกำาหนดให้มีการชำาระเงินค่าหุ้นปีละ 25 ล้านบาท เป็น  ช่วยเหลือบุคลากร สามารถช่วยชีวิตผู้ที่ประสบภัยและเจ็บป่วยให้
 และลดขั้นตอนการทำางาน 2) ปรับปรุงกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องที่เป็น  เวลา  4  ปี  สัดส่วนการถือหุ้นมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์   ถึงมือแพทย์อย่างทันท่วงที จัดให้มีการอยู่เวรช่วงกลางวันเวลา      5.  โครงการเสริมสร้างองค์กรสุขภาวะ
 อุปสรรคและไม่เอื้อต่อการทำางานเพื่อมุ่งเป้าเชิงสัมฤทธิผล มากกว่า  9,998,998 หุ้น บริษัทนิติบุคคลของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์   08.00-20.00 และภาคกลางคืนเวลา 20.00 -08.00 น. โดยหน่วย  มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
 ตามขั้นตอนปฏิบัติ 3) ออกแบบการสื่อสารมหาวิทยาลัยกับ  1,000 หุ้น และบุคคลที่สภามหาวิทยาลัยมอบหมาย 2 คน คนละ   เริ่มจัดตั้งแต่ พ.ศ.2553 และให้บริการเรื่อยมาจนถึงปัจจุบันให้        โครงการ Health Assessment in PSU personnel
 ประชาคม ม.อ. 4) วางระบบในการจัดการทรัพยากรและการจัดสรร  1 หุ้น สำาหรับแนวทางและปรัชญาการลงทุน จะมีการลงทุนในธุรกิจ  บริการในด้านต่าง ๆ ประกอบด้วย 1) บริการทางด้านอัคคีภัย ใน  in the Year 2017 : HAPPY 2017 มหาวิทยาลัยได้รับการสนับสนุน
 ทรัพยากรของวิทยาเขตตรังอย่างมีประสิทธิภาพและให้เกิด  ที่ใช้องค์ความรู้ เทคโนโลยี งานวิจัย นวัตกรรมหรือทรัพย์สินทาง  อดีตเคยมีเหตุการณ์เพลิงไหม้ เมื่อปี 2553 รถดับเพลิงของเทศบาล  จาก สสส. ให้ดำาเนินการส่งเสริมสุขภาวะของบุคลากรในองค์กร
 ประโยชน์สูงสุดทั้งสินทรัพย์ที่มีตัวตนและไม่มีตัวตน 5) การพัฒนา
 ระบบรักษาความปลอดภัยเพื่อสร้างความมั่นใจให้กับผู้ปกครองและ
 นักศึกษา 6) พัฒนาต้นแบบองค์กรที่มีการจัดการพลังงานอย่าง
 ยั่งยืน 7) เปิดโอกาสให้ชุมชนสามารถใช้ประโยชน์จากทรัพยากร
 ของวิทยาเขตตรังอย่างเหมาะสม ด้านการประกันคุณภาพ มี
 แนวทางการดำาเนินงานโดย 1) จัดทำา PSU-EdPEx Roadmap ทั้ง
 ในระดับวิทยาเขตคณะและหน่วยงานโดยจัดเป็น Phase ควบคู่ไป
 กับการให้ความรู้ในด้านการบริหารจัดการตามแนวทางคุณภาพกับ
 ผู้บริหารทุกระดับ/บุคลากร 2) พัฒนาวิธีการบริหารวิธีการดำาเนิน
 งานเพื่อทำาให้องค์กรมีประสิทธิภาพและสามารถมุ่งไปสู่ความ เป็น
 เลิศตามระบบหรือเกณฑ์ EdPEx 3) สนับสนุนให้มีการจัดการกับ
 ปัจจัยที่นำาไปสู่ความสำาเร็จตามระบบหรือเกณฑ์ EdPEx  ด้านการ
 ลงทุน ดำาเนินการจัดทำาศูนย์บริหารจัดการทรัพยากรเพื่อก่อให้เกิด
 รายได้
   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135