Livable Japan ใส่ใจไว้ในเมือง

             เล่มนี้จะพาคุณไปเปิดประสบการณ์ใหม่ ๆ ที่น่าตื่นตาของประเทศญี่ปุ่น ว่าทำไมประเทศนี้จึงดูน่าอยู่เหลือเกิน เรียกได้ว่าติดอันดับเมืองน่าอยู่ต้น ๆ

ของโลกเลยทีเดียว ทั้งข้าวของเครื่องใช้ ทางเดิน ถังขยะ ป้ายบอกทาง ฯลฯ ทุกอย่างล้วนน่ารัก สวยงาม เป็นระเบียบ หรือแม้แต่ความเป็นระเบียบของผู้คน

เค้ามีแนวคิดอย่างไรในการสร้างผังเมือง ซึ่งใช้คำว่า “เข้าใจ” “ใส่ใจ” มาเปิดประสบการณ์ไปพร้อมกันว่าทำไม

             - ความเป็นระเบียบของคนญี่ปุ่นมีการ “ออกแบบ” อยู่เบื้องหลัง (ไม่ใช่จิตสำนึกเพียงอย่างเดียว!)

             - ผู้มีอำนาจแคร์คุณแค่ไหนขอให้ดูที่กรวยถนน

             - ทางเท้าในญี่ปุ่นสะท้อนถึงความเท่าเทียมได้อย่างไร

             - ญี่ปุ่นรับมือภัยพิบัติอย่างไรให้เมืองไม่วิบัติ

             ลองผจญภัยตามผู้เขียนไปบนถนนและตรอกซอกซอย ออกตามหา “ใจ” ที่ซ่อนอยู่ระหว่างเรื่องราวของเมืองน่าอยู่นี้ไปด้วยกัน แล้ววาดฝัน

“เมืองน่าอยู่” ของเรากันอีกที

 

ผู้แต่ง : ปริพนธ์ นำพบสันติ

Call No. :  HT169.J3 ป46 2564

ผู้ประสานงานห้องสมุดสีเขียว
วีณา ฤทธิ์รักษา  [โทร : 08-2434-8933]
สุดา พันธุสะ [โทร : 08-1698-2854]

ติดต่อเรา
สำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ต.คอหงส์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90110
โทร : 0-7428-2352
เว็บไซต์ : clib.psu.ac.th

ArticleList

ด้วยหอสมุดคุณหญิงหลงฯ มีแนวทางพัฒนาการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม โดยเข้าร่วมรับการตรวจประเมินสำนักงานสีเขียว ในปี 2564 แล้วสำนักงานสีเขียวคืออะไร มาทำความรู้จักสำนักงานสีเขียวไปพร้อมกันเลย ..
10 ข้อสงสัยเกี่ยวกับภาวะโลกร้อน ทำความรู้จักก๊าซเรือนกระจก
ไม่มีใครปฏิเสธได้ว่า อาหารการกินไม่ใช่เรื่องสำคัญ ทุกคนล้วนต้องการอาหารเพื่อการดำรงชีพทั้งนั้น แต่จะเลือกกินอย่างไรให้กรีน กินอย่างไรให้ปลอดภัย .. ติดตามอ่านได้ที่ Business Plus ปีที่ 32, ฉบับที่ 372 (ก.พ. 2563), หน้า 86-87
มาทำความรู้จักคำนิยามของ "ห้องสมุดสีเขียว" จากคู่มือเกณฑ์การพัฒนาห้องสมุดสีเขียว พ.ศ. 2559 สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ..
วันใดขาดฉันแล้วเธอจะรู้สึก !! ว่าด้วยเรื่องพลังงานในการดำรงชีวิตประจำวัน คงไม่มีใครปฏิเสธได้ว่าไม่จำเป็นต้องใช้พลังงาน ทุกคน ทุกวัย ล้วนจำเป็นใช้พลังงานตลอดเวลา มาทำความรู้จักพลังงานให้มากขึ้นในบทความนี้ .. ติดตามอ่านได้ที่ : วารสารพลังงานทางเลือก ปีที่ 15, ฉบับที่ 57 (มกราคม-มีนาคม 2563), หน้า 23-25
บทความนี้แนะนำให้รู้จักประเภทของพลาสติกและการเลือกใช้ให้เหมาะสม โดยคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ..