Page 27 - Operation-Manual-PSUKB
P. 27
19
โดยที่ผลงานประเภทวิทยานิพนธ์ให้ยืนยันตามแบบฟอร์ม บว.8 แบบขอส่งวิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์
ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บัณฑิตวิทยาลัย, 2563) ส าหรับรายงานการวิจัย
ฉบับพิมพ์ให้ยืนยันกับใบอนุญาตเผยแพร่ผลงานวิจัยจากเจ้าของผลงาน (ส านักวิจัยและพัฒนา, 2563)
ส าหรับรายงานการวิจัยที่น าเข้าระบบบริหารงานวิจัย (PRPM) ให้ยืนยันการอนุญาตให้เผยแพร่
รายงานวิจัยสู่สาธารณะ (ส านักวิจัยและพัฒนา, 2563)
แนวคิด/งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
คลังปัญญาสถาบัน (Institutional Repository : IR) เป็นแนวความคิดใหม่ในการจัดการ
ผลงานทางวิชาการของสถาบันการศึกษาและหน่วยงานวิจัยให้อยู่ในรูปดิจิทัล เช่น รายงานการ
ประชุม / สัมมนา (Conference Papers) บทความวิชาการ (Academic Articles) บทความวิจัย
(Research Articles) สารนิพนธ์ / วิทยานิพนธ์ (Thesis) ดุษฎีนิพนธ์ (Dissertations) รายงาน
ั
(Reports) เป็นต้น จากแนวคิดในการพฒนาคลังปัญญาสถาบันดังกล่าว โปรแกรมดีสเปซซึ่งเป็น
ั
ซอฟต์แวร์ที่ผู้พฒนาคลังปัญญาสถาบันสามารถน ามาปรับใช้ง่าย เนื่องจากมีความยืดหยุ่นต่อการ
ื้
ท างาน เออต่อการเข้าถึงแบบเปิด (Open Access) สามารถถ่ายโอนระเบียนระหว่างซอฟต์แวร์
ื่
ั
แพลตฟอร์มอน และมีช่องทางให้พฒนาส่วนต่อประสานได้ จึงเป็นซอฟต์แวร์ที่ได้รับความนิยมใน
ประเทศไทย (กุสลวัฒน์ คงประดิษฐ์, 2558)
ปัจจุบันการจัดเก็บและเผยแพร่ทรัพยากรสารสนเทศในรูปแบบดิจิทัล ได้รับความนิยมใน
สถาบันอดมศึกษาหรือห้องสมุดต่าง ๆ เป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นแหล่งผลิต จัดเก็บ และเผยแพร่
ุ
สารสนเทศที่มีคุณค่าทางวิชาการ การจัดท าคลังปัญญาสถาบันจึงเป็นการส่งเสริมและเผยแพร่ผลงาน
ทางวิชาการของสถาบันการศึกษา สนับสนุนการศึกษาและวิจัยให้พฒนายิ่งขึ้น นอกจากนี้การสงวน
ั
รักษาผลงานทางวิชาการให้อยู่ในรูปดิจิทัล สามารถเก็บไว้ได้ในระยะยาว ประหยัดพนที่จัดเก็บของ
ื้
หน่วยงาน อีกทั้งผู้ใช้บริการสามารถสืบค้นและเข้าถึงสารสนเทศได้โดยเสรี โดยมีลักษณะส าคัญ ดังนี้
(Xia, 2007 อ้างใน จันทรา เทพอวยพร, 2553)
1) ผู้เขียนสามารถน าเข้าผลงานวิชาการได้ด้วยตนเอง
2) ทรัพยากรที่เป็นผลงานวิชาการ ประกอบด้วยผลงานก่อนตีพมพ (Pre-Prints) และ
ิ
์
ผลงานภายหลังตีพิมพ์ (Post-Prints) หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง
3) ข้อมูลสาธารณะ ซึ่งผู้ใช้สามารถเข้าถึงได้โดยเสรี (Open Access)
4) เมทาดาตา (Metadata) ในการท ารายการผลงานทางวิชาการเพื่อการค้นคืน
ื้
ื่
5) การค้นคืนสารสนเทศ คลังปัญญาสถาบันส่วนใหญ่ออกแบบมาเพอเออต่อโปรโตคอล
Open Archive Initiative Protocol Metadata Harvesting (OAI-PMH) ซึ่งเป็นโปรโตคอลที่ใช้ใน
การรวบรวมข้อมูลเมทาดาตาจากแหล่งข้อมูลหลายๆ แหล่ง มาจัดเก็บไว้ในฐานข้อมูลของคลังปัญญา
สถาบัน เมื่อมีการสืบค้นก็สามารถเชื่อมโยงกลับไปยังแหล่งข้อมูลเดิมได้ ถึงแม้ว่าจะต่างระบบกันก็
ตาม
ด้วยเหตุนี้บรรณารักษ์ผู้ปฏิบัติงานคลังปัญญาสถาบันจึงจ าเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจ
เกี่ยวกับซอฟต์แวร์ สามารถใช้ซอฟต์แวร์ได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ สามารถวางแผนและ