Page 24 - Operation-Manual-PSUKB
P. 24
16
3. อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในการปฏิบัติงาน
การปฏิบัติงานการจัดการสารสนเทศคลังปัญญามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สามารถ
ุ
ด าเนินการผ่านทางเว็บไซต์ http://kb.psu.ac.th ซึ่งควรมีอปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในการ
ปฏิบัติงานดังนี้
3.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
่
3.2 โปรแกรมเปิดเอกสารเว็บเพจ (Web Browser) ได้แก Internet Explorer, Firefox,
Google Chrome
ิ
3.3 โปรแกรมที่ใช้ในการจัดการรูปแบบเอกสารอเล็กทรอนิกส์และป้องกันการคัดลอก
เอกสาร
เนื่องด้วยโปรแกรมดีสเปซมีโครงสร้างข้อมูลระบบเป็นล าดับชั้น เมื่อน ามาปรับใช้กับคลัง
ปัญญามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จึงก าหนดให้มีชุมชนข้อมูล 3 ระดับ คือ
1) ชุมชน (Community) ก าหนดเป็นชื่อคณะ/ หน่วยงานเทียบเท่าคณะ
2) ชุมชนย่อย (Sub-Community) ก าหนดเป็นชื่อภาควิชา/สาขาวิชา/ฝ่ายส่วนงาน
3) คอลเล็กชั่น (Collection) ก าหนดเป็นประเภทของผลงาน เช่น วิทยานิพนธ์
สารนิพนธ์ รายงานวิจัย บทความ เป็นต้น
นอกจากนี้ก าหนดขั้นตอนการด าเนินงานไว้ 2 ส่วนคือ ส่วนผู้ใช้งานระบบ ประกอบด้วยการ
น าเข้าข้อมูล การยืนยันข้อมูล และการแก้ไขเมทาดาตา และส่วนผู้ดูแลระบบ ซึ่งเป็นกระบวนการ
ี
จัดการให้ระบบสะดวกต่อผู้ใช้งาน ดังแสดงรายละเอยดในวิธีการปฏิบัติงานและเทคนิคในการ
ปฏิบัติงานต่อไป
วิธีการปฏิบัติงาน
การจัดการสารสนเทศคลังปัญญามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มีวิธีการปฏิบัติงานแบ่งเป็น
2 ส่วนคือ ส่วนผู้ใช้งานระบบ และส่วนผู้ดูแลระบบ ทั้งนี้การปฏิบัติงานทั้งสองส่วนจะต้องเป็น
นักศึกษา อาจารย์ หรือ บุคลากรของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์เท่านั้น และสามารถยืนยันตัวตน
โดยใช้ PSU Passport ในการเข้าสู่ระบบที่ http://kb.psu.ac.th โดยมีสิทธิ์การด าเนินการในแต่ละ
กระบวนการ ดังนี้
ตารางที่ 3-2 สิทธิ์การเข้าถึงกระบวนการของคลังปัญญามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
กระบวนการ ผู้มีสิทธิ์ด าเนินการ
1. ส่วนผู้ใช้งานระบบ
1.1 การน าเข้าข้อมูล (Submit) นักศึกษา อาจารย์ และบุคลากร ม.อ.
(เจ้าของผลงาน)
1.2 การยืนยันข้อมูล (Approve) อาจารย์ที่ปรึกษา หรือ เจ้าหน้าที่คณะ
1.3 การแก้ไขเมทาดาตา (Edit Metadata) บรรณารักษ์
2. ส่วนผู้ดูแลระบบ