Page 26 - Operation-Manual-PSUKB
P. 26
18
2.1.3 ลงรายการชื่อคณะจากเมนู Create Top-Level Community
2.1.4 ลงรายการหมายเลขรายวิชาหลัก และชื่อภาควิชาจากเมนู Create Sub-
community
2.2 การเพิ่มคอลเล็กชั่น
2.2.1 เลือกชื่อคณะที่สร้างไว้
2.2.2 เลือกชื่อภาควิชาที่สร้างไว้
2.2.3 เลือกเมนู Create collection ลงรายการหมายเลขเดียวกันกับภาควิชาที่
เลือก และระบุประเภทของเอกสาร เช่น 761 Thesis, 761 Research เป็นต้น
2.2.4 เลือกเงื่อนไขตามกระบวนการ การน าเข้าข้อมูล การยืนยันข้อมูล การแก้ไข
เมทาดาตา
2.2.5 เลือกบุคคลหรือกลุ่มผู้มีสิทธิ์เข้าถึงระบบของแต่ละกระบวนการ
ั
2.2.6 ลงรายการชื่อคณะ ภาควิชา ทั้งภาษาไทยและภาษาองกฤษ ในเมนู Item
template
2.3 การจัดการกลุ่มสมาชิก
2.3.1 เลือกเมนู Access control และเลือก Groups
2.3.2 สร้างกลุ่มโดยเลือก Create New Group
2.3.3 เลือกรายชื่อบุคคลเข้ากลุ่ม
2.4 การท า Item mapper
เงื่อนไข/ข้อสังเกต/ข้อควรระวัง/สิ่งที่ควรค านึงในการปฏิบัติงาน
1. การลงรายการควรลงรายการตามภาษาหลักของผลงานนั้น ๆ เช่น ผลงานเป็น
ั
ั
ภาษาองกฤษ ควรระบุชื่อเรื่อง ชื่อผู้แต่งเป็นภาษาองกฤษ รวมถึงระบุเป็นปี ค.ศ. หากเป็นภาษาไทย
ควรระบุชื่อเรื่อง ชื่อผู้แต่งเป็นภาษาไทยและระบุเป็นปี พ.ศ.
ื่
2. การตรวจสอบไฟล์วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย ต้องตรวจสอบเรียงไปทีละหน้า เพอตรวจ
ความชัดเจน ความถูกต้อง และความสมบูรณ์ของข้อมูลแต่ละบท หากไฟล์ไม่สมบูรณ์ ผู้ปฏิบัติงาน
ิ่
จะต้องแก้ไขไฟล์หรือหาตัวเล่มของเอกสารมาสแกนเพมเติม เพื่อให้ไฟล์ที่มีในคลังปัญญามหาวิทยาลัย
สงขลานครินทร์มีความสมบูรณ์และถูกต้องมากที่สุด
3. ผู้แก้ไขเมทาดาตาควรตรวจสอบการป้องกันเอกสารก่อนการเผยแพร่ผลงาน โดย
ตรวจสอบไฟล์ที่ผ่านการน าเข้าข้อมูล หากสามารถคัดลอกเอกสารได้ ผู้แก้ไขเมทาดาตาจ าเป็นต้องตั้ง
ค่าป้องกันเอกสารด้วยโปรแกรม Adobe Acrobat เพื่อป้องกันการคัดลอกเอกสารของเจ้าของผลงาน
4. การระบุกลุ่มสมาชิกเป็นกระบวนการที่สร้างความสะดวกต่อสิทธิ์ในการเข้าถึง
ื่
กระบวนการของคอลเล็กชั่น ทั้งนี้บุคคลที่เป็นสมาชิกจะต้องเข้าสู่ระบบเพอยืนยันตัวตนเป็นนักศึกษา
และบุคลากรของมหาวิทยาลัยเท่านั้น โดยสังเกตจากการใช้ @psu.ac.th
5. ระเบียบในการอนุญาตเผยแพร่ส าหรับผู้น าเข้าข้อมูล จ าเป็นต้องตรวจสอบการอนุญาต
เผยแพร่ผลงาน 2 ประเภท ได้แก่ ผลงานประเภทวิทยานิพนธ์ และผลงานประเภทรายงานการวิจัย