Page 9 - ทรัพยากรการท่องเที่ยวไทยชุดภาคใต้ (สงขลา)
P. 9

ยุคดึกด�ำบรรพ์



                    ี
               พ้นท่จังหวัดสงขลาประกอบด้วยหินยุคคาร์บอนิเฟอรัส (๓๕๐ - ๓๑๐ ล้านปี) ช้นหินส่วนใหญ่ประกอบด้วยหินดินดาน หินทราย หินเชิร์ต
                  ี
                                                                           ั
             หินอาร์จิลไลต์ ในบางบริเวณพบว่ามีชั้นหินทรายแป้ง หินโคลน หินชนวน เกิดร่วมอยู่ด้วย ในหินดินดานสีขาว มีซากดึกด�าบรรพ์ยืนยันอายุ
             ที่แน่นอน โผล่ให้เห็นในพื้นที่บางส่วนของจังหวัดสงขลา
               หินมหายุคซีโนโซอิก  (๖๕.๕ ล้านปีก่อนถึงปัจจุบัน) แบ่งเป็น ๒ ยุค คือ ยุคเทอร์เชียรี และยุคควอเตอร์นารี
               ยุคเทอร์เชียรี (๕.๓ - ๑.๖ ล้านปี) ปรากฏอยู่ตามแอ่งที่ราบลุ่ม มีขนาดแตกต่างกันตามสภาพทางธรณีวิทยา เช่น แอ่งสะเดา และแอ่ง

             สะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
                                                           ั
                  ุ
                                                          ี
                                                                     ่
                                                                        ิ
                                                                  ่
                                                             ั
                                                               ั
                                             ็
                                               ้
                                      ้
                                          ี
                                               ั
                          ์
                                                          ่
                                                      ่
                             ี
                                                                                                      �
                                                                                                      ้
                                                                                                           ่
               ยคควอเตอรนาร (๒ - ๑.๘ ลานป) เปนชนตะกอนรวนทยงจบตวไมแนน เกดจากการกระทาของแมนา และกระแสนาชายฝงทะเล จาแนก
                                                                                                           ั
                                                                                           ้
                                                                                                                 �
                                                                                   �
                                                                                          ่
                                                                                           �
             ได้เป็นหลายแบบ คือ ตะกอนตะพักลุ่มน�้า ประกอบด้วยชั้นตะกอนของกรวด ทราย ดิน ดินลูกรัง และคราบปูน ตะกอนตะพัก ลุ่มน�้านี้จะ
             ปรากฏตามเชิงเขา และเนินเขาเตี้ยๆ ในจังหวัดสงขลา มีตะกอนที่ลุ่มน�้าขัง ได้แก่ ตะกอนที่สะสมตัวตามทะเลสาบ หนอง บึง เช่น หน่วยชั้น
             ตะกอนสนามชัย เป็นตะกอนทราย และดินเหนียวที่สะสมตัว เนื่องจากถูกธารน�้าพัดพามา และในชั้นตะกอนดินเหนียวสีเทาอมฟ้า ที่มีเหล็ก
             ออกไซด์ปะปนอยู่ด้วย ช่วยบ่งชี้ให้ทราบว่า เกิดมีขบวนการผุพังอยู่กับที่ในสภาพอากาศที่แห้งแล้งเป็นเวลานาน ในเขตพื้นที่อ�าเภอหาดใหญ่
             มีชั้นกรวดขนาดใหญ่ วางตัวอยู่บนชั้นดินเหนียว
                                                  ปูมบ้ำนปูมเมือง

                                                             ั
               สงขลาเป็นเมืองท่าทางฝั่งตะวันออกของภาคใต้ตอนล่างมาต้งแต่อดีต มีชุมชนโบราณ โบราณสถาน โบราณวัตถุ ขนบธรรมเนียมประเพณ  ี
             ปรากฏครั้งแรกในบันทึกของพ่อค้าและนักเดินเรือชาวอาหรับ - เปอร์เซีย ระหว่าง พ.ศ. ๑๙๙๓ - ๒๐๙๓ ในนามของเมืองซิงกูร์หรือซิงกอร่า
                                                                                      ่
                                                                                                               ่
                                   ์
               ในหนังสือประวัติศาสตรธรรมชาติและการเมืองแห่งราชอาณาจักรสยามเรียกชื่อเมืองสงขลาวา เมืองสิงขร จึงมีการสันนิษฐานวา สงขลา
             เพี้ยนมาจากชื่อ สิงหลา (อ่านว่า สิง-หะ-ลา) หรือ สิงขร แปลว่า เมืองสิงห์ โดยพ่อค้าชาวเปอร์เซีย อินเดีย ระหว่างที่แล่นเรือมาค้าขายใน
             ย่านน้ จากระยะไกลมองเห็นเกาะหนู เกาะแมวคล้ายกับสิงห์สองตัวหมอบเฝ้าบริเวณปากทาง
                 ี
             เข้าเมืองสงขลา จึงเรียกเมืองนี้ว่า สิงหลา ส่วนคนไทยเรียกว่า เมืองสทิง เมื่อชาวมลายูเข้า
             มาติดต่อค้าขายกับเมืองสทิง ก็เรียกว่า เมืองสิงหลา แต่ออกเสียงเพี้ยนเป็นส�าเนียงฝรั่งคือ
                                                              ี
                                                                      �
             ซิงกอร่า (Singora) นอกจากน้ยังมีอีกเหตุผลหน่งอ้างว่า สงขลาเพ้ยนมาจากคาว่า สิงขร แปล
                                                ึ
                                   ี
             ว่า ภูเขา โดยดูจากลักษณะภูมิประเทศของเมืองสงขลาที่ตั้งอยู่บริเวณเชิงเขาแดง และต่อมา
                                                               ่
                                                                 ี
                                                                               ้
             เจ้าเมองคนแรกของสงขลากยังไดรบพระราชทานนามว่า  วิเชียรคีร ซงมความหมายสอดคลอง
                                                               ึ
                                  ็
                 ื
                                      ้
                                       ั
                                                             ี
             กัน
               สงขลา เป็นเมืองท่มีเร่องราวสืบต่อกันมาต้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ มีการค้นพบ
                                  ื
                                                  ั
                               ี
             หลักฐาน ร่องรอยทางสถาปัตยกรรมที่แสดงให้เห็นว่าเมืองนี้เคยเป็นศูนย์กลางการปกครอง
             ดินแดนรอบๆ ทะเลสาบสงขลาในสมัยนั้น โดยพัฒนาเป็นหัวเมืองขนาดใหญ่ จัดให้มีการฝัง
                                                                  �
             หลักเมือง และได้ย้ายเมืองสงขลามายังฝั่งตะวันออกของแหลมสน "ตาบลบ่อยาง" คือเขต
             เทศบาลนครสงขลาในปัจจุบัน
                รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ มีการปฏิรูปการปกครอง
                                                                                                           �
                                                                                                           ้
                                                                                                  ป้อมปืนปากนาแหลมทราย
             ทรงจัดต้งมณฑลเทศาภิบาลข้น และส่งพระวิจิตรวรสาสน์ (ปั้น สุขุม) ลงมาเป็นข้าหลวงพิเศษ
                    ั
                                   ึ
          6
        57-09-066_001-092 Songkhla_new20-01_A-SCG.indd   6                                                        1/20/15   7:57 PM
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14