Page 4 - ทรัพยากรการท่องเที่ยวไทยชุดภาคใต้ (สงขลา)
P. 4
ค�ำน�ำ
ี
ุ
ั
็
ั
ื
เมอพทธศกราช ๒๕๕๔ อนเปนโอกาสท่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเจริญพระชนมพรรษา ๗ รอบ การท่องเท่ยวแห่งประเทศไทย
ี
่
เห็นว่าน่าจะจัดท�าหนังสือทรัพยากรการท่องเที่ยวไทย อันเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม เพื่อร่วมเฉลิมพระเกียรติในโอกาสอันส�าคัญยิ่งนี้
ื
ึ
ี
ี
อน่งในโอกาส ๕๐ ปี แห่งการสถาปนาการท่องเท่ยวแห่งประเทศไทยเม่อ พ.ศ. ๒๕๕๓ นับเป็นช่วงอันดีท่จะมีการรวบรวม
ื
ี
ี
ี
สรรพความรู้ท่เก่ยวกับทรัพยากรการท่องเท่ยวของไทยอย่างเป็นระบบ เพ่อเป็นฐานข้อมูลต่อการพัฒนาศักยภาพการตลาดท่องเท่ยวไทย
ี
การจัดท�าหนังสือทรัพยากรการท่องเที่ยวไทยจึงเกิดขึ้นจากสองแนวคิดนี้
ทรัพยากรการท่องเที่ยวของไทยนั้นแบ่งเป็น ๓ ประเภท ได้แก่ ทรัพยากรการท่องเที่ยวประเภทธรรมชาติ เช่น หาดทราย ชายทะเล
เกาะแก่ง ป่า เขา น�้าตก ถ�้า น�้าพุร้อน ทะเลสาบ รวมถึงสิ่งที่ถือก�าเนิดขึ้นร่วมกาลสมัยกับประวัติศาสตร์ธรรมชาติ เช่น ซากดึกด�าบรรพ์ เป็นต้น
ั
ึ
ิ
ั
ั
ี
ุ
ทรพยากรการท่องเท่ยวประเภทประวติศาสตร์ โบราณวตถสถานและศาสนา รวมถงพพธภณฑสถาน ทรพยากรการท่องเท่ยวประเภท
ั
ี
ั
ิ
ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และกิจกรรม เช่น งานเทศกาล ประเพณี ศิลปะการแสดง ศิลปหัตถกรรม หอศิลป์ วิถีชีวิต ตลอดจนกิจกรรมการ
ท่องเที่ยวอื่น ๆ ที่สร้างสรรค์ขึ้นใหม่
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยได้ส�ารวจรวบรวมข้อมูลทรัพยากรการท่องเที่ยวไทยมาโดยตลอด นับแต่ก่อตั้งองค์กรเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๓ และ
ี
ี
ี
ได้ประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเท่ยวให้เป็นท่รู้จักแก่นักท่องเท่ยวชาวไทยและชาวต่างประเทศ เพ่อเผยแพร่องค์ความรู้สู่สาธารณชน ด้วยวิธีการ
ื
และสื่อต่าง ๆ ทุกประเภท เช่น นิตยสาร จุลสาร ฐานข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว หนังสือ หนังสือภาพ แผ่นพับ สารคดี ภาพยนตร์ ตลอดจนการ
ี
ศึกษาวิจัยด้านการท่องเท่ยว และจัดให้มีการรับรองมาตรฐานเก่ยวกับแหล่งท่องเท่ยวในนามของรางวัลอุตสาหกรรมท่องเท่ยวไทย ซ่งมีข้นคร้งแรก
ี
ี
ึ
ั
ึ
ี
ื
ี
�
ี
เม่อ พ.ศ. ๒๕๓๙ ฯลฯ แต่การนาเสนอข้อมูลโดยรวบรวมองค์ความรู้ท่เก่ยวกับการท่องเท่ยวโดยเรียงลาดับอักษร จัดเป็นหมวดหมู่
�
ี
เพื่อสะดวกแก่การค้นคว้า เกิดขึ้นเป็นครั้งแรกในโอกาสนี้ องค์ความรู้ดังกล่าวจะเป็นฐานข้อมูลส�าหรับนักท่องเที่ยว นักศึกษา และบุคลากร
ี
ั
�
ด้านการจัดการอุตสาหกรรมท่องเท่ยว ได้นาไปใช้พัฒนาและส่งเสริมอุตสาหกรรมท่องเท่ยวไทยอย่างย่งยืนต่อไปได้ ตามแผนพัฒนาการ
ี
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติที่มีเป้าหมายให้อุตสาหกรรมท่องเที่ยวมีบทบาทส�าคัญในการสร้างงานและกระจายรายได้ไปยังทุกภูมิภาค
ิ
ี
ิ
ี
ในช่วงรอยต่อของการเปล่ยนระบบการบริหารจัดการท้องถ่นดังเช่นทุกวันน้ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่นได้รับสิทธิและหน้าท่ใน
ี
ี
ึ
ี
การบริหารจัดการทรัพยากรต่าง ๆ รวมท้งทรัพยากรการท่องเท่ยวมากข้นกว่าในอดีต การท่องเท่ยวแห่งประเทศไทยมีความตระหนักดีว่า
ั
ทรัพยากรการท่องเท่ยวหลายประเภทน้นยังมิได้มีระบบบริหารจัดการท่ถูกต้องเหมาะสม เน่องจากขาดฐานข้อมูลท่ถูกต้องรองรับ
ั
ื
ี
ี
ี
พระราชบัญญัตินโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๑ จึงได้ก�าหนดภาระหน้าที่ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยในการให้ความรู้แก่
บุคลากรในหน่วยงานของรัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไว้ด้วย หนังสือทรัพยากรการท่องเที่ยวไทยจึงเป็นส่วนหนึ่งของความพยายาม
ในการให้ความรู้นั้น
การจัดท�าทรัพยากรการท่องเที่ยวไทย แบ่งเป็น ๔ ชุด เริ่มต้นที่ภาคอีสานใน พ.ศ. ๒๕๕๑ และจัดท�าภาคกลาง-ภาคตะวันออก ภาค
ั
ื
้
ี
เหนอ และภาคใต้ในเวลาถดมา แหล่งท่องเทยวและกจกรรมต่าง ๆ ทปรากฏในหนงสอชดนรวบรวมจากข้อเสนอแนะของท้องถนและฐาน
ิ
ุ
่
่
ี
่
ี
ื
ั
ิ
ข้อมูลส่วนหนึ่งของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย โดยได้รับความร่วมมือจากผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้มีประสบการณ์สาขาต่าง ๆ ผู้แทนหน่วยงาน
จากภาครัฐและเอกชน ร่วมเป็นที่ปรึกษา อ�านวยการ ด�าเนินงาน ทั้งได้มีการประชุมตรวจสอบเนื้อหาอย่างละเอียดเพื่อความถูกต้อง
ิ
่
ู้
่
็
ั
่
ิ
ี
่
ื
่
ุ
้
การทองเทยวแหงประเทศไทยหวังเปนอยางยงว่า องค์ความรจากหนงสอชดทรัพยากรการทองเทยวไทย จะเสรมสร้างความรความเขาใจ อน
ี
ู้
่
่
ั
ิ
ี
�
ื
ื
มีผลสืบเน่องให้เกิดความสานึกหวงแหนรักษามรดกท่ธรรมชาติและบรรพชนได้สร้างไว้ เพ่อให้คนไทยสามารถเป็นเจ้าบ้านผู้มีความรู้ มีศักด์ศร ี
และมีอัธยาศัยไมตรีต่อผู้มาเยือน มีการจัดการการท่องเที่ยวอย่างถูกวิธี ท�าให้ประเทศไทยสามารถเป็นจุดหมายปลายทางของการท่องเที่ยว
อย่างยั่งยืนแห่งหนึ่งของโลก
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.)
57-09-066_001-092 Songkhla_new20-01_A-SCG.indd 1 1/20/15 7:57 PM