Page 35 - สงขลา
P. 35

35
                                                   อ าเภอที่ส าคัญในจังหวัดสงขลา






               อ าเภอสทิงพระ



                                            ประวัติอ าเภอสทิงพระ                    จากต านานพระธาตุนครฯ                          และ



                           ต านานเมืองนครศรีธรรมราช กล่าวถึง พญาศรีธรรมาโศกราช ขี่ช้าง


                           หนีไข้ห่าลงมาจากนครอินทปัตบุรี คือเมืองนครธม จิตร ภูมิศักดิ์ เชื่อ



                           ว่าต านานนี้น่าจะมีเค้าจริงว่า มีเจ้านายเขมรลี้ภัยทางการเมือง (โรคห่า


                           เป็นเพียงสถานการณ์เปรียบเทียบ) ลงมายังหัวหาดที่นครศรีธรรมราช



                           ซึ่งมีร่องรอยหลักฐานจากต านาน กล่าวถึงเมืองขึ้น ๑๒ เมืองของพญา


                           ศรีธรรมาโศกราช เรียกว่าเมือง ๑๒ นักษัตร                                        ในจ านวนนั้นมีเมือง



                           หนึ่งชื่อบันทายสมอ มาจากภาษาเขมรว่า บันทายถมอ แปลว่าก าแพง


                           หิน หรือป้อมหิน “บันทาย” แปลว่า ป้อม, ก าแพง, ค่าย, และ



                           “ถมอ” แปลว่าหิน รวมทั้งยังชื่อบ้านนามเมืองที่เป็นภาษาเขมรในบริเวณ


                           ใกล้เคียงนครศรีธรรมราช เช่น ชื่อ ต.จะทิ้งพระ อ.สทิงพระ ใน จ.



                           สงขลา จิตร ภูมิศักดิ์ อธิบายว่าในเอกสารโบราณ เช่น ต าราพระ


                           กัลปนาวัดเมืองพัทลุง พ.ศ. ๒๒๔๒ เรียกว่า “ฉทิงพระ” ชื่อ “จะทิ้ง



                           พระ”หรือ “สทิงพระ” ในชื่อต าบลอ าเภอดังกล่าว จึงมาจากชื่อ “ฉทิง


                           พระ” หรือ “จทิงพระ” เป็นค าภาษาเขมรโบราณ แปลว่าแม่น้ าพระ



                           หรือคลองพระ (พระในภาษาเขมร หมายถึง พระพุทธรูป ไม่ใช่


                           พระภิกษ) ค า “จทิง” หรือ “ฉทิง” เป็นภาษาเขมรโบราณ หมายถึง
                                         ุ


                           คลอง หรือแม่น้ า ปัจจุบันใช้เป็น “สทึง”
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40