Page 97 - รายงานประจําปี ๒๕๕๓-๕๔ ผลการดําเนินงานด้านการวิจัยและบัณฑิตศึกษา
P. 97
7.5 ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์
ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์เป็นหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ที่มีบทบาทสําคัญในการ
สนับสนุนให้บริการเชิงวิชาการ ในการวิเคราะห์ทดสอบตัวอย่าง/สอบเทียบ การซ่อม/สร้างเครื่องมือ การจัดอบรม
่
เชิงปฏิบัติการและการใช้เครื่องมือด้วยตนเองแก นักศึกษา อาจารย์ นักวิจัย ในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
หน่วยงานราชการภายนอก รวมถึงภาคเอกชนต่างๆ ซึ่งผลการดําเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและบัณฑิตศึกษา
ิ
ั
ของมหาวทยาลย มีดังนี้
้
้
ั
1. การพฒนาคุณภาพของการบริการ ทังทางดานระบบคุณภาพตามมาตรฐานสากล
้
ั
และความพึงพอใจของผูรบบริการ
่
ชือกลุม/นักศึกษา : นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ในเรื่องของการพัฒนาคุณภาพของการบริการ ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์กําหนดให้ทีมการตลาด และ
่
1. นายศิวกร ด้วงดี ชั้นปีที่ 4 ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ ทีมนวัตกรรมเป็นผู้ขับเคลื่อนหลัก ในการกําหนดและสร้างนวัตกรรมให้กับผลิตภัณฑ์และบริการของหน่วยงาน
2. นายทรงชัย แซ่ฟุูง ชั้นปีที่ 4 ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ โดยใช้ 3 พื้นฐานแนวคิดต่อไปนี้ในการระบุข้อกําหนดที่สําคัญในการสนับสนุนผู้ใช้บริการ เพื่อกําหนดและสร้าง
3. นายกิตติศักดิ์ ศักดิ์พานิช ชั้นปีที่ 4 ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ นวัตกรรมบริการคือ
4. นายทินวัฒน์ ทีปทิพากร ชั้นปีที่ 4 ภาควิชาวิศวกรรมเมคาทรอนิกส์ 1. จากความสามารถพเศษของบคลากรในการสรางนวตกรรมการบรการ โดยใช้แนวทางวิจัย เพื่อ
ั
้
ิ
ิ
ุ
ผลิตภัณฑ์/บริการ : กาแฟ เครื่องดื่มและอาหารว่าง ผลิตเป็นผลิตภัณฑ์/บริการใหม่ หรือใช้แนวทางการศึกษาด้วยตนเอง แล้วสร้างเป็นบริการใหม่ เช่น การให บริการ
้
ลักษณะการลงทุน : ลงทุนเอง ทดสอบอาหารฮาลาล การจัดตั้งห้องปฏิบัติการสอบเทียบ Micropipette ที่มีตามระบบคุณภาพมาตรฐาน ISO
ุ
ลักษณะของธรกิจ : บริการ การสราง Incubator System การสราง Data Logger 8 Channel อันเป็นบริการเชิงรุกที่วางเปูาหมายผลตอบแทน
้
้
เรมประกอบธุรกิจ : ตั้งแต่วันที่ 6 พฤษภาคม 2553 พ.ศ. ถึงปัจจุบัน จากอนาคต
่
ิ
่
กลุมเปูาหมาย : บุคลากรและนักศึกษา 2. การตอบสนองความตองการพิเศษเฉพาะของผู้ใช้บริการ ที่นอกเหนือจากประกาศการให้บริการ
้
ิ
เวลาให้บรการ : วันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 10.00-17.00 น. วิชาการของศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ แนวทางนใชความสามารถพเศษของทีมบุคลากรโดยใช้ความรู้ในด้าน
้
ี
้
ิ
Implicit Knowledge สร้างสรรค์บริการใหม่ให้แก่ผู้ใช้บริการ ซึ่งเป็นผลงานจากทีมนวัตกรรม และทีมวิศวกรในการ
ซ่อม/สร้างเครื่องมือ ซึ่งการให้บริการทดสอบบางรายการสามารถพัฒนาและปรับเข้าเป็นบริการวิชาการ (ตาม
ประกาศการให้บริการวิชาการของศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์) ส่วนในด้านการซ่อม/สร้างเครื่องมือสามารถสร้าง
บริการที่ทําให้ผู้ใช้บริการพึงพอใจได้ดี ด้วยการสร้างอุปกรณ์ที่ใช้งานได้ตรงตามวัตถุประสงค์ในราคาเหมาะสม
ซ่อมด้วยอุปกรณ์ทดแทนซึ่งราคาต่ํากว่าการเปลี่ยนชิ้นส่วน
3. นวัตกรรมบริการที่สร้างความสะดวก ความพึงพอใจแก่ผู้ใช้บริการ และลดข้อบกพร่องในการ
ให้บริการ นวัตกรรมส่วนนี้เกิดจากวิสัยทัศน์ของผู้นําสูงสุด ข้อเสนอแนะจากบุคลากร ร่วมกับการรับฟังเสียงของ
้
ผู้ใช้บริการ เช่น การเปิดหน่วยบริการชุมชน การเปิดหองปฏิบัติการใช้เครื่องมือด้วยตนเอง 24 ชั่วโมง การ
ให้บริการทางระบบ Internet ในการจองใช้เครื่องมือและตรวจสอบผลการทดสอบ มีช่องทางด่วนให้บริการ
ทดสอบ เป็นต้น เพื่อสร้างการบริการที่เหนือกว่าความคาดหวังของลูกค้า
รายงานประจ าปี ผลการด าเนินงาน รายงานประจ าปี ผลการด าเนินงาน |
90 91
| ด้านการวิจัยและบัณฑิตศึกษา ปี 2553-2554 ด้านการวิจัยและบัณฑิตศึกษา ปี 2553-2554
�������������_������������.indd 91 7/12/12 1:43 PM