Page 110 - รายงานประจำปี 2561 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
P. 110

108  P S U  Annual Report 2018  P S U  Annual Report 2018                                              109

 ได้ผลิตผลิตภัณฑ์ทางเครื่องสำาอาง นำ้ามันทำาความสะอาดเครื่อง  พัฒนา ที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบันมีโครงการที่สำาคัญเพื่อสร้างเศรษฐกิจ
 สำาอางจากนำ้ามันเมล็ดยางพารา ทำาความสะอาดผิวหน้าได้อย่าง  ฐานนวัตกรรมของประเทศ ตามนโยบายประเทศไทย 4.0 กลุ่มเรื่อง
 หมดจด ให้ความชุ่มชื้นแก่ผิวเป็นธรรมชาติ เป็นผลงานวิจัยคิดค้น  เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) จำานวน 8 โครงการ
 ซึ่งได้รับการจดอนุสิทธิบัตร เลขที่คำาขอ 1703000996 ผลงานนี้ได้  ได้แก่ 1) การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เกษตรเชิงสร้างสรรค์
 รับรางวัลเหรียญทองในงานการประกวดสิ่งประดิษฐ์ที่กรุงโซล   เพื่อยกระดับชุมชน สวนลุงวรควนเนียง อ.ควนเนียง จ.สงขลา โดย
 ประเทศเกาหลีใต้ (Seoul International Invention Fair 2017)   ศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ อุทยานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา
 เมล็ดยางพาราจะมีสีนำ้าตาลลายขาวคล้ายเมล็ดละหุ่ง ประกอบไป  นครินทร์ 2) การยกระดับการท่องเที่ยวโดยชุมชนใน 5 จังหวัด
 ด้วยส่วนที่เป็นเนื้อใน (kernel) และส่วนที่เป็นเปลือกนอก (shell)   ชายแดนภาคใต้ (สตูล สงขลา ปัตตานี ยะลาและนราธิวาส) โดย
 ภายในเนื้อในของเมล็ดยางพารามีนำ้ามันเป็นส่วนประกอบร้อยละ   มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ 3) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ยะลา เบิร์ดซิตี้ จาก
 35-45 โดยทั่วไปนำ้ามันจากเมล็ดยางพาราจะมีปริมาณกรดไขมันอิ่ม  กระดาษกล้วยหิน โดยมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 4) การถ่ายทอด
 ตัว และกรดไขมันไม่อิ่มตัว ทีมงานคณะเภสัชศาสตร์นำานำ้ามันจาก  เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากผ้าปะลางิง เพื่อยกระดับ
 เมล็ดยางพารามาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ทำาความสะอาดเครื่องสำาอาง  เป็นผลิตภัณฑ์ Premium OTOP โดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี  tion Awards 2018) ซึ่งเป็นการประกวดสิ่งประดิษฐ์ อุปกรณ์ เครื่อง
 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมุ่งประเด็นไปที่การเลือกสารลดแรงตึง  ราชมงมลศรีวิชัย จ.สงขลา 5) การพัฒนาคุณภาพและการตลาดของ  มือที่ใช้ยางพาราเป็นองค์ประกอบ หรือสนับสนุนการเพิ่มมูลค่า
 ผิวที่เหมาะสม และทำาการประเมินคุณสมบัติทางกายภาพ ความ  ผ้าทอนิคมลานข่อยจังหวัดพัทลุง โดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี  ยางพารา หรือเป็นนวัตกรรมหรือสิ่งประดิษฐ์ที่คิดค้นขึ้นมาใหม่ หรือ
 คงตัว และประสิทธิภาพในการทำาความสะอาดของผลิตภัณฑ์ ขณะ  ราชมงมลศรีวิชัย จ.สงขลา 6) การออกแบบและผลิตอุปกรณ์-สิ่งของ  พัฒนาต่อยอดเทคโนโลยีที่มีอยู่เดิม โดยเน้นการใช้วัสดุจากยางพารา
 นี้มีภาคเอกชนให้ความสนใจร่วมพัฒนาผลิตภัณฑ์และเป็นผู้จัด  ใช้ตกแต่ง โดยใช้ผ้าทอพื้นเมืองภาคใต้ โดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี  เป็นส่วนประกอบในการจัดนวัตกรรม ซึ่งมีผู้ได้รับรางวัลต่าง ๆ ดังนี้
 จำาหน่ายแล้ว คือ บริษัทสยามอะพาร่า จำากัด  ราชมงมลศรีวิชัย จ.สงขลา 7) การสร้างเศรษฐกิจฐานนวัตกรรมด้วย        -   ระดับอุดมศึกษาและบัณฑิตศึกษา ผลงานของ
       4.9 ผลงาน โฟมยางพารามาผสมสารล่อแมลง ช่วยลด  การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอนาหมื่นศรีสู่การพัฒนาเป็นผู้ประกอบ  มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้แก่
 ค่าใช้จ่ายเป็นของขวัญแก่เกษตรกรไทย  นักวิจัยจากคณะ  การยุคใหม่ โดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงมลศรีวิชัย จ.ตรัง         1) รางวัลรองชนะเลิศ ผลงาน PARA - FLY LURE จาก
 ทรัพยากรธรรมชาติ ประกอบด้วย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นริศ ท้าว  และ 8) การพัฒนาผ้าทอเกาะยอโดยใช้เส้นในสับปะรดและการย้อม  คณะทรัพยากรธรรมชาติ
 จันทร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ ร่วมกับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เอก  สีธรรมชาติเพื่อการยกระดับผลิตภัณฑ์หัตถกรรม โดยศูนย์บ่มเพาะ        2) รางวัลชมเชย ผลงาน กาวพอลียูรีเทนระบบนำ้าประจุ
 วิภู กาลกรณ์สุรปราณี คณะวิทยาศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.อรัญ      5.  กิจกรรมเด่นและประชุมวิชาการระดับชาติ/นานาชาติ  วิสาหกิจ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่  บวกจากยางธรรมชาติ จากคณะวิทยาศาสตร์
 งามผ่องใส คณะทรัพยากรธรรมชาติ นักวิจัยและนักศึกษาปริญญา        5.1 ศูนย์นวัตกรรมสร้างสรรค์ เครือข่ายบริหารการวิจัย        5.2 งาน “NR Trade Show & International Sem-        3) รางวัลชมเชย ผลงาน SILVERNANO GLOVES จาก
 โทประกอบด้วย นางสาวยาวารีย๊ะห์ สาเมาะ นางสาวรูเฟียะห์ มะ  ภาคใต้ตอนล่าง โดยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมกับเครือข่าย  inars” ภายใต้แนวคิด “นวัตกรรมยางพารา เพื่อสังคมไทย สู่สังคม  คณะวิทยาศาสตร์
 ลี และนางสาวคอฎีย๊ะ เถาวัลย์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ ได้คิด  สถาบันอุดมศึกษาอีก 12 สถาบัน ได้แก่ มหาวิทยาลัยทักษิณ   โลก” ซึ่งจัดขึ้นระหว่างวันที่ 3-5 พฤษภาคม 2561 ที่โรงแรมสยาม        4) รางวัลชมเชย ผลงาน PIEZO RUBBER จาก คณะ
 ประดิษฐ์โฟมยางพาราจากนำ้ายางพารา ใช้แทนสำาลีที่ใช้ผสมสารฟี  มหาวิทยาลัยหาดใหญ่  มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์    ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยความร่วมมือระหว่าง 3 หน่วยงาน   วิทยาศาสตร์
 โรโมนในการล่อแมลง เพื่อการควบคุมแมลงวันผลไม้ แมลงศัตรูพืช  มหาวิทยาลัยฟาฏอนี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย   คือ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี อุทยาน        - ระดับบุคคลทั่วไป ผลงานของมหาวิทยาลัยสงขลา
 ที่สำาคัญของเกษตรกรผู้ปลูกผลไม้ทั่วประเทศ พบว่า โฟมยางพารา  มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา วิทยาลัย  วิทยาศาสตร์ และสถาบันวิจัยและพัฒนานวัตกรรมยางพารา เพื่อ  นครินทร์ ได้แก่
 สามารถปลดปล่อยสารและดึงดูดแมลงวันผลไม้ได้ยาวนานถึง 90  ชุมชนนราธิวาส วิทยาลัยชุมชนยะลา วิทยาลัยชุมชนปัตตานี   เผยแพร่และแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ด้านนวัตกรรมยางพาราในกลุ่ม        1) รางวัลรองชนะเลิศ ผลงาน หุ่นจำาลองสำาหรับฝึกการ
 วัน และใช้สารฟีโรโมนน้อยกว่าการใช้สำาลีซึ่งเป็นวิธีเดิมได้ 5-6 เท่า  วิทยาลัยชุมชนสงขลา วิทยาลัยชุมชนสตูล เป็นศูนย์กลางในการ  นักวิชาการ นิสิต นักศึกษา ผู้ประกอบการ และผู้สนใจทั่วไปในระดับ  ช่วยชีวิต ขั้นพื้นฐานทำาจากยางพารา จากคณะแพทยศาสตร์
 โดยที่สารฟีโรมีนที่ใช้ล่อแมลงราคาแพง ช่วยลดต้นทุนให้เกษตรกร  ดำาเนินการให้เกิดการใช้องค์ความรู้จากงานวิจัยของมหาวิทยาลัยใน  นานาชาติ ส่งเสริมการนำาผลงานทางวิชาการ องค์ความรู้ด้าน        2) รางวัลรองชนะเลิศ ผลงาน แผ่นแปะหูจากยาง
 นับเป็นนวัตกรรมมาแปรรูปยางดิบให้เป็นผลิตภัณฑ์เพื่อใช้พัฒนา  พื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง และถือเป็นการต่อยอดศักยภาพของชุมชน  นวัตกรรมยางพารา สู่การใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ และเสริมสร้าง  ธรรมชาติ จากหออภิบาลผู้ป่วยศัลยกรรม โรงพยาบาลสงขลา
 ประเทศ ซึ่งไทยมีกำาลังการผลิตกว่า 4 ล้านตันต่อปี และผลงานชิ้น  ท้องถิ่น เพื่อให้เกิดพัฒนาผลิตภัณฑ์ Premium OTOP ในด้าน  สัมพันธภาพอันดีในกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในอุตสาหกรรมยางพารา  นครินทร์
 นี้ได้รับรางวัลเหรียญทองจากงานวิจัยที่ประเทศเกาหลีใต้ ในงาน   หัตถกรรม และบริการที่มีมูลค่าสูง ทั้งยังเป็นแหล่งข้อมูล ศูนย์เรียน  ระดับนานาชาติ โดยภายในงานมีการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ได้แก่ การ        5.3 การประชุมนานาชาติเพื่อการขับเคลื่อนธุรกิจใน
 Seoul International Invention Fair 2017 ณ กรุงโซล สาธารณรัฐ  รู้ ศูนย์ฝึกอบรม และศูนย์การพัฒนาผ่านงานวิจัย ให้เกิดการต่อ   จัดประชุมวิชาการด้านยางพาราและไม้ยางพารา ระดับนานาชาติ  หัวข้อก้าวไปข้างหน้ากับการเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมด้วย
 เกาหลี จากผลงานที่ร่วมประกวด 43 ประเทศทั่วโลก และอยู่  ยอดธุรกิจด้วยระบบสารสนเทศ สร้างผู้ประกอบการแบบ Start Up    การจัดแสดง 50 สุดยอดนวัตกรรมยางพารา การประกวดนวัตกรรม  มิตรภาพชายแดนใต้ครั้งที่ 1 โดยเป็นความร่วมมือระหว่าง ศอ.บต.
 ระหว่างยื่นจดอนุสิทธิบัตร   และส่งเสริมการตลาดแบบ E- commerce เป็นต้น โดยได้จัด  ยางพารา การประกวดแนวคิดธุรกิจด้านยางพารา และการออกบูธ  มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ภาคธุรกิจเอกชนและผู้ประกอบการ
 กิจกรรมเปิดตัวศูนย์ดังกล่าว เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2561 ณ ห้อง   จำาหน่ายผลิตภัณฑ์ยางพาราและไม้ยางพารา โดยผู้ประกอบการ  ในพื้นที่ เมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2561 ที่โรงแรมแกรนด์ แมนดาริน
 Innovation Hub ชั้น 1 อาคารศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้ (LRC)   SMEs มีการประกวดรางวัลนวัตกรรมยางพารา (Rubber Innova-  อำาเภอเบตง จังหวัดยะลา โดยผู้เข้าร่วมประชุมเป็นนักธุรกิจจากไทย
 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ สำานักวิจัยและ
   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115