Page 18 - คู่มือบริหารจัดการคลังปัญญามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
P. 18

11







                              นอกจากนี้ผู้ใช้โปรแกรมสามารถจัดการปรับเปลี่ยนล าดับของขั้นตอนให้เหมาะสมกับการใช้
                       งานของสถาบันได้ ส าหรับคลังปัญญามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ก าหนดไว้ 3 ขั้นตอนคือ การน าเข้า
                       ข้อมูล การยืนยันข้อมูล และการแก้ไขเมทาดาตา
                              2. หลักเกณฑ์การลงรายการเมทาดาตา

                                โปรแกรมดีสเปซใช้ชุดหน่วยข้อมูลย่อยดับลินคอร์เมทาดาตาในการบรรยายข้อมูล ซึ่งมี
                       หลักเกณฑ์การลงรายการชุดหน่วยข้อมูลต่างๆ ดังนี้ (เทอดศักดิ์ ไม้เท้าทอง, 2559)
                                2.1  ชื่อเรื่อง (Title) เป็นชื่อที่ก าหนดให้แก่วัตถุดิจิทัล อาจก าหนดขึ้นโดยเจ้าของผลงาน
                       หรือส านักพิมพ์ ซึ่งเป็นชื่อเรื่องที่รู้จักอย่างแพร่หลายหรือเป็นทางการ โดยองค์ประกอบนี้มีตัวขยาย 1

                       ตัว คือ Alternative เป็นชื่อเรื่องที่ใช้แทนชื่อเรื่องที่เป็นทางการของวัตถุดิจิทัลและอาจเป็นชื่อเรื่องย่อ
                       หรือค าแปลของชื่อเรื่อง
                                2.2  เจ้าของผลงาน (Creator) เป็นบุคคล นิติบุคคลหรือหน่วยบริการที่รับผิดชอบในการ
                       สร้างเนื้อหาของวัตถุดิจิทัลหรือสร้างสรรค์ผลงาน เช่น เจ้าของผลงานเขียน ศิลปิน ช่างภาพ เป็นต้น

                       โดยใช้ชื่อบุคคลหรือนิติบุคลลตามที่ปรากฎในตัววัตถุดิจิทัล ส าหรับเจ้าของผลงานที่เป็นคนไทยให้ลง
                       รายการขื่อและนามสกุล กรณีเป็นชาวต่างประเทศให้ลงรายการนามสกุล คั่นด้วยเครื่องหมายจุลภาค
                       ( , ) แล้วตามด้วยชื่อต้น และชื่อกลาง (ถ้ามี) ส่วนนิติบุคคลที่เป็นเจ้าของผลงานให้ลงรายการชื่อ

                       หน่วยงานที่เป็นเจ้าของผลงาน กรณีมีหน่วยงานย่อยให้ลงรายการชื่อหน่วยงานใหญ่ คั่นด้วย
                       เครื่องหมายมหัพภาค ( . ) แล้วตามด้วยหน่วยงานย่อย
                                2.3  หัวเรื่อง (Subject) เป็นหัวข้อเรื่องที่ใช้แทนแนวคิดเชิงเนื้อหาของวัตถุดิจิทัล เช่น
                       ค าส าคัญ วลีหรือรหัสแสดงหมวดหมู่ที่ใช้อธิบายเนื้อหาของวัตถุดิจิทัล การก าหนดหัวเรื่องควรใช้
                       ค าศัพท์ควบคุม (Controlled vocabulary) ที่ได้จากคู่มือก าหนดหัวเรื่อง เช่น หัวเรื่องส าหรับหนังสือ

                       ภาษาไทย (Library of Congress Subject Headings LCSH) Medical Subject Headings (MeSH)
                                                            ั
                       เป็นต้น หรือค าที่ได้จากหนังสือรวมศัพท์สัมพนธ์ทางวัฒนธรรม Unesco thesaurus Thesaurus of
                       information science terminology Thesaurus of aging terminology เป็นต้น ค าศัพท์ที่ใช้ใน

                       องค์ประกอบนี้อาจเลือกจากค าที่ปรากฎในชื่อเรื่องหรือที่ปรากฎในองค์ประกอบที่เป็นลักษณะ
                       (Description) ซึ่งก็คือค าส าคัญที่ปรากฏในหน้าสารบัญหรือในบทคัดย่อ
                                                                               ี
                                2.4  ลักษณะ (Description) เป็นค าอธิบายรายละเอยดเนื้อหาของวัตถุดิจิทัล เช่น
                       บทคัดย่อ สารบัญ ค าอธิบายภาพ หรือค าอธิบายทั่วไปเกี่ยวกับวัตถุดิจิทัล โดยองค์ประกอบนี้มีตัว

                       ขยาย 2 ตัวคือ 1) table of contents เป็นรายการหัวข้อแสดงเนื้อหาย่อยต่างๆ ของวัตถุดิจิทัลที่
                       ปรากฏตามหน้าสารบัญ ให้ลงรายการหัวข้อต่างๆ โดยคั่นด้วยเครื่องหมายยัติภังค์สองขีด ( -- ) และ
                       2) abstract เป็นสรุปสาระส าคัญของเนื้อหาในวัตถุดิจิทัล
                                           ิ
                                2.5  ส านักพมพ (Publisher) เป็นบุคคล นิติบุคคลหรือหน่วยบริการที่รับผิดชอบในการ
                                              ์
                                                                         ์
                                                                      ิ
                       สร้างหรือผลิตวัตถุดิจิทัลให้สามารถเข้าถึงได้ เช่น ส านักพมพ มหาวิทยาลัย บริษัท เป็นต้น โดยใช้ชื่อ
                       บุคคลหรือนิติบุคคลที่เป็นผู้ผลิตผลงานตามที่ปรากฎหน่วยงานย่อยให้ลงรายการชื่อหน่วยงานใหญ่
                       คั่นด้วยเครื่องหมายมหัพภาค ( . ) แล้วตามด้วยหน่วยงานย่อย
                                2.6  ผู้ร่วมงาน (Contributor) เป็นบุคคล นิติบุคคลหรือหน่วยบริการที่มีส่วนร่วมสร้าง

                       เนื้อหาของวัตถุดิจิทัลในระดับรองจากผู้แต่งหรือเจ้าของผลงาน ซึ่งมีหลักเกณฑ์การลงรายการ
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23