การฟื้นฟูพื้นที่ปนเปื้อนสารมลพิษอินทรีย์

                 เล่มนี้ ได้รวบรวม หลักการ ทฤษฎีประสบการณ์การวิจัยและการบริการวิชาการ รวมทั้งผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับประเทศและนานาชาติ

ที่เกี่ยวข้องกับการฟื้นฟูพื้นที่ปนเปื้อนด้วยสารมลพิษอินทรีย์ที่หลากหลาย โดยเนื้อหาประกอบด้วยสามส่วนหลักคือ ส่วนแรกเป็นความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการ

ปนเปื้อนของสารมลพิษอินทรีย์ในดินและน้ำใต้ดิน รวมถึงเกณฑ์การปนเปื้อนและค่ามาตรฐานที่เกี่ยวข้องในประเทศไทย ส่วนที่สองเป็นการประเมินพื้นที่ปนเปื้อน

การแบ่งพื้นที่ปนเปื้อน การเก็บตัวอย่างสารมลพิษอินทรีย์ในดิน และน้ำใต้ดิน

                 และส่วนสุดท้ายเป็นเทคนิคและวิธีการฟื้นฟูพื้นที่ปนเปื้อนสารมลพิษอินทรีย์ ซึ่งแบ่งเป็นการฟื้นฟูเชิงกล การฟื้นฟูทางกายภาพเคมี การฟื้นฟูทางเคมี

การฟื้นฟูทางชีวภาพ และการฟื้นฟูด้วยพืช เนื้อหาภายในเล่มสามารถเป็นแนวทางให้นิสิต นักศึกษา นักวิจัย นักวิชาการ และบุคลากรที่ทำงานด้านสิ่งแวดล้อม

นำไปใช้ในการจัดการพื้นที่ปนเปื้อนสารมลพิษอินทรีย์ได้อย่างเหมาะสม

 

ผู้แต่ง : ตุลวิทย์ สถาปนจารุ

Call No. :  TD192.5 ต74 2564

 

ผู้ประสานงานห้องสมุดสีเขียว
วีณา ฤทธิ์รักษา  [โทร : 08-2434-8933]
สุดา พันธุสะ [โทร : 08-1698-2854]

ติดต่อเรา
สำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ต.คอหงส์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90110
โทร : 0-7428-2352
เว็บไซต์ : clib.psu.ac.th

ArticleList

ด้วยหอสมุดคุณหญิงหลงฯ มีแนวทางพัฒนาการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม โดยเข้าร่วมรับการตรวจประเมินสำนักงานสีเขียว ในปี 2564 แล้วสำนักงานสีเขียวคืออะไร มาทำความรู้จักสำนักงานสีเขียวไปพร้อมกันเลย ..
10 ข้อสงสัยเกี่ยวกับภาวะโลกร้อน ทำความรู้จักก๊าซเรือนกระจก
ไม่มีใครปฏิเสธได้ว่า อาหารการกินไม่ใช่เรื่องสำคัญ ทุกคนล้วนต้องการอาหารเพื่อการดำรงชีพทั้งนั้น แต่จะเลือกกินอย่างไรให้กรีน กินอย่างไรให้ปลอดภัย .. ติดตามอ่านได้ที่ Business Plus ปีที่ 32, ฉบับที่ 372 (ก.พ. 2563), หน้า 86-87
มาทำความรู้จักคำนิยามของ "ห้องสมุดสีเขียว" จากคู่มือเกณฑ์การพัฒนาห้องสมุดสีเขียว พ.ศ. 2559 สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ..
วันใดขาดฉันแล้วเธอจะรู้สึก !! ว่าด้วยเรื่องพลังงานในการดำรงชีวิตประจำวัน คงไม่มีใครปฏิเสธได้ว่าไม่จำเป็นต้องใช้พลังงาน ทุกคน ทุกวัย ล้วนจำเป็นใช้พลังงานตลอดเวลา มาทำความรู้จักพลังงานให้มากขึ้นในบทความนี้ .. ติดตามอ่านได้ที่ : วารสารพลังงานทางเลือก ปีที่ 15, ฉบับที่ 57 (มกราคม-มีนาคม 2563), หน้า 23-25
บทความนี้แนะนำให้รู้จักประเภทของพลาสติกและการเลือกใช้ให้เหมาะสม โดยคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ..