Page 3 - ชาน้องร้อยเรือภูมิปัญญาเพลงกล่อมเด็กภาคใต้สู่การขับร้องประสานเสียง
P. 3

3





                                                           คำนำ




                       ภูมิปญญาเพลงกลอมเด็กภาคใตมีความเปนมาอยางชานาน การเปลี่ยนแปลงทางสังคมทำให        
                                              ิ
               เพลงกลอมเด็กมีบทบาทนอยลงในวถีชีวิต ดังเชนโบราณกาลบางสิ่งบังเกิดขึ้นและสูญหายไมมีสิ่งใดอยูยืนยง
               ผูเขียนเปนนักวิชาการรุนใหมที่เห็นความสำคัญของวัฒนธรรม ปรารถนาสานตอความงามของภูมิปญญาทองถิ่น

               และนำมาปลูกฝงใหกับเยาวชนเพื่อสรางความภาคภูมิในประเทศชาติ เรียนรูวิถีชีวิตแบบพื้นบาน จากแนวคิด
               ดังกลาวผูเขียนในฐานะอาจารยสอนเครื่องมือเอกขับรองและควบคุมวงขับรองประสานเสียงซึ่งเปนวงดนตรี

                          ึ
               ประเภทหนงของชาวตะวันตกที่มีอิทธิพลตอประเทศไทย ไดนำเพลงกลอมเด็กภาคใตจำนวน 5 เพลง
                          ่
               เปนแรงบัลดาลใจเพื่อประพันธบทเพลงใน โครงการวิจัยการพัฒนาตอยอดภูมิปญญาเพลงกลอมเด็กภาคใต     
                                          
                 
               สูการขับรองประสานเสียง
                       หนังสือโนตเพลง “ชานอง รองเรือ” ภูมิปญญาเพลงกลอมเด็กภาคใตสูการขับรองประสานเสียง
               เปนผลผลิตจากโครงการวิจัยการพัฒนาตอยอดภูมิปญญาเพลงกลอมเด็กภาคใตสูการขับรองประสานเสียง

               ไดรับทุนอุดหนุนการวิจัยโครงการวิจัยเงินรายได มหาวิทยาลัยทักษิณ กองทุนวิจัยมหาวิทยาลัยทักษิณ
               ประเภททุนพัฒนานักวิจัยรุนใหม ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2565 รวบรวมโนตเพลงกลอมเด็กในรูปแบบ

                                  ้
                                                                                                         ิ
               การรองประสานเสียงทังหมด 5 บทเพลง ไดแก (1) เพลงโอละเห โอละชา (2) เพลงนอนนะนุยนอน (3)เพลงนทาน
                                                                 ั
               เมรีกลอมนองนอน (4) เพลงนองตื่นแลวหมี (นองตื่นแลวยง) และ (5) เพลงไกเถื่อนขันเทือนแลว ซึ่งแตละเพลง
               ไดรับแรงบัลดาลใจจากเพลงกลอมเด็กภาคใตหลากหลายจังหวัด เชน จังหวัดสงขลา จังหวัดนราธิวาส เปนตน
                                                                                                       

                       ขอขอบคุณองคพระผูเปนเจาสถิตอยเบื้องตนผูทรงประทานสติปญญา กำลังกาย จิตใจ และจิตวิญญาณ
                                                     ู
                       ขอขอบคุณ แมเพลงทั้ง 3 ทาน นางเพิ่ม ไชยบุญแกว นางจิต ทิพยกองลาส นางคำแกว พวงแกว
                                                                                                            
               ที่มอบขอมูลเพลงกลอมเด็กใหแกผูเขียนดวยความเต็มใจนับเปนพระคุณอยางสูง
                       ขอขอบคุณ ผูชวยศาสตราจารย ดร.ดรุณี อนุกูล ที่ปรึกษาโครงการวิจัยทีใหคำแนะนำทุกประการ
                                                                                       ่
               และอาจารยโสวภา สงขาว ผูใหแนวทางในการจัดทำหนังสือโนตเพลงเลมน คุณงามความดีทางวิชาการใด ๆ
                                                                                 ี้
               อันเกิดจากหนังสือเลมนี้ ผูเขียนขออุทิศใหกับพอเพลงแมเพลงผูเปนบรรพบุรุษของประเทศไทยทุกทาน










                                                                                       สุภาพร ฉิมหนู
                                                                                        14 ธันวาคม 2565
   1   2   3   4   5   6   7   8