Page 90 - รายงานประจำปี ๒๕๖๐ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
P. 90

2. การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 62 และ การแสดงศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ ครั้งที่ 33
                  จัดโดยสถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา มหาวิทยาลัยวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ร่วมกับหอศิลป์ มหาวิทยาลัย
                                                                                                      ิ
            ศิลปากร ณ หอศิลปวัฒนธรรมภาคใต สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา ภายในงานมีการนําผลงานศิลปกรรมแห่งชาต และผลงาน
                                        ้
                                                               ี
                                                                                                      ี
                                  ุ
            ศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินร่นเยาว์สัญจรมาจัดแสดง โดยนําผลงานท่ได้รับรางวัลประเภทต่างๆ รวมไปถึงผลงานของศิลปินท่ได้รับคัดเลือก
            เข้าร่วมแสดง จําแนกเป็น 4 ประเภท คือ ผลงานประเภทจิตรกรรม ประเภทประติมากรรม ประเภทภาพพิมพ์และประเภทสื่อผสม รวมทั้ง
            สิ้น 81 ชิ้น แบ่งเป็นผลงานศิลปกรรมแห่งชาติครั้งที่ 62 จํานวน 29 ชิ้น และ ผลงานศิลปกรรมร่วมสมัยของศิลปินรุ่นเยาว์ ครั้งที่ 33 จํานวน
            52 ชิ้น
                  3. กิจกรรมลานร่มบ่มศิลป์
                  จัดโดยศูนย์ส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม เป็นกิจกรรมที่จัดขึ้น เป็นประจําทุกเดือน ช่วงเวลา 17.00 - 20.00 น. ณ บริเวณลานจอดรถ
                                                          ์
            ศูนย์ส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ในงานจะมีกิจกรรมลานการแสดง : การแสดงจากเยาวชนค่ายสอนศิลป  ์
            การบรรเลงดนตรีไทย (วงฝึกดนตรีไทยเบื้องต้น) รําเพลงฟ้อนภูไท รําเพลงปิตุเรศมารดร รําเพลงเก็บใบชา และการแสดงแลกเปลี่ยนศิลป
            วัฒนธรรมไทย-จีน เป็นต้น กิจกรรมลานอาหาร : ชิมอาหารพื้นบ้านหลากหลายชนิด เช่น ขนมจีน หมูปิ้ง ไข่ต๊อก นํ้าผลไม้ปั่น มันปิ้ง และ
            กิจกรรมลานเรียนรู้งานศิลป์ : งูน้อยแสนกล ระบายสีภาพ หมากขุม เป็นต้น
                  4. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมกับต่างประเทศ
                  ทั้งกลุ่มสถาบันประเทศอาเซียน และประเทศต่าง ๆ ที่ทุกวิทยาเขตจัดกิจกรรมร่วมกัน ทั้งนี้เพื่อให้นักเรียน นักศึกษาและประชาชน
            ทั่วไป ได้เกิดการเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมของประชาคมอาเซียน และประเทศต่างๆ อันจะเป็นการเตรียมความพร้อมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
                                  ู
                                                                                  ื
                                                       ื
                                                                                                       ึ
            และประสบการณ์ที่จะนําเข้าส่ความเป็นนานาชาต อีกท้งเพ่อสร้างความเข้าใจในการดําเนินการเร่องพหุวัฒนธรรม อันจะเกิดข้นในอนาคต
                                                ิ
                                                     ั
            สร้างความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาต่างประเทศและสร้างเครือข่ายการทํางานร่วมกัน อาทิเช่น โครงการแลกเปล่ยนเรียนร้ศิลปวัฒนธรรม
                                                                                                     ู
                                                                                              ี
            อาเซียน วิทยาเขตตรัง โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม เปิดโลกทัศน์ประชาคมอาเซียน ของวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี
            โครงการ International Night : Chinese Cultural Alumni Association ของวิทยาเขตภูเก็ต การจัดเวทีนําเสนอวัฒนธรรมไทยมาเลเซีย
            ภายใต้โครงการ PSU-UMT STUDENT MOBILITY : ACADEMIC , SPORT, AND CULTURE โดยมีนักศึกษา บุคลากร อาจารย์ และคณะ
            ผู้บริหารจากคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และ UNIVERSITY MALAY TERANGKANU เป็นต้น
                  5. โครงการฟื้นฟูการแสดงพื้นบ้านโนรา “มาเมืองตรังไม่หนังก็โนรา”
                  จัดขึ้นเพื่อส่งเสริมและปลูกฝังให้เยาวชนในจังหวัดตรัง ได้เกิดความรัก หวงแหน และเห็นคุณค่าของการแสดงโนราอันเป็นมรดกทาง
                                                                                     ่
                                                                                           ้
                                                                                   ้
                                                                  ่
                                                                                               ้
                                                                                ี
                                                                 ั
                                                                                  ้
               ิ
                ั
                                                                                                ื
            ภมปญญาของบรรพบรุษ เลงเหนถงความสาคญของการแสดงโนราและหวงวาเด็กและเยาวชนท่ไดเขารวม จะไดเป็นผสบสานศลปะการแสดง
                                                                                                     ิ
             ู
                                                                                               ู
                                     ึ
                                           ํ
                                             ั
                            ุ
                                ็
                                   ็
                          ู
             ื
            พ้นบ้านโนราให้อย่ค่กับชุมชนต่อไป โดยได้เชิญ คุณละมัย ศรีรักษา หรือโนราละมัยศิลป เป็นวิทยากรให้ความร้ด้านการรําโนราให้กับเด็กและ
                                                                                          ู
                                                                          ์
                           ู
            เยาวชนจากโรงเรียนต่าง ๆ ในจังหวัดตรัง เข้าร่วมกิจกรรม กว่า 40 คน จัดขึ้นในระหว่างวันที่ 10-12 มิถุนายน 2560




                 90
             P S U  Annual Report 2017
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95