Page 88 - รายงานประจำปี ๒๕๖๐ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
P. 88
ู
มหาวิทยาลัยได้ดําเนินการจัดกิจกรรมกระบวนการเรียนร้ความหลาก
การบูรณาการระหว่าง หลายทางวัฒนธรรมและเครือข่ายพหุวัฒนธรรมในการส่งเสริมความเข้าใจ ศาสนา
การทำานุบำารุงศิลปวัฒนธรรม ประเพณ ความเช่อความแตกแต่ง โดยมีโครงการท่สําคัญท่ดําเนินการ ได้แก ่
ี
ื
ี
ี
กับการเรียนการสอนและ การร่วมสอนในรายวิชาสุขภาวะกายและจิต ร่วมสอนในรายวิชาวิทยาศาสตร์และ
กิจกรรมนักศึกษา เทคโนโลยี ร่วมสอนในรายวิชา Community Wisdom โครงการการแสดงโขน
ั
ิ
ิ
ิ
่
ิ
ิ
์
สงขลานครนทรในวนปฐมนเทศ รวมกจกรรมในโครงการเปดโลกกจกรรม
โครงการไหว้ครูดนตรีไทย และนาฏศิลป์-โขน โครงการลานร่มบ่มศิลป และดนตร ี
์
ไทยสําหรับนักศึกษา (ตลอดปีการศึกษา) โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการด้านศิลป
หัตถกรรมให้แก่นักศึกษา โครงการจัดนิทรรศการด้านศิลปกรรม โครงการศึกษา
แหล่งเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมของไทย ดังนั้นกิจกรรมด้านนี้เปิดให้นักศึกษาที่สนใจ
เข้าร่วมอย่างอิสระไม่ใช่ภาคบังคับ จึงทําให้มีนักศึกษาที่สนใจอยู่แล้วจํานวนหนึ่ง
่
ี
้
ี
เท่าน้นท่เข้าร่วม แมว่าในปัจจุบันมีจํานวนนักศึกษาทเข้าร่วมกิจกรรม/โครงการ
ั
ื
มากข้นแล้ว แต่ก็ยังถือมีจํานวนน้อยเม่อเทียบกับจํานวนนักศึกษาท้งส้นใน
ึ
ิ
ั
มหาวิทยาลัย และกิจกรรมต่าง ๆ ไม่สามารถจัดในเวลาเรียนได้ จึงต้องจัดในช่วง
เย็น-คํ่า หรือวันเสาร์-อาทิตย์เท่านั้น
หน่วยงานเก่ยวกับกิจกรรมส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม เช่น ศูนย์ส่งเสริมศิลปะ
ี
และวัฒนธรรม สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา เป็นหน่วยงานท่ไม่ได้มีการ
ี
จัดการเรียนการสอน การดําเนินการในลักษณะการจัดการเรียนการสอนแบบ
รายวิชา ทําให้ไม่สามารถถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจ คุณค่าความงาม และคุณ
ประโยชน์ของศิลปวัฒนธรรมให้กับนักศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การบูรณาการระหว่างการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอน
ต้องได้รับความร่วมมือกับจากคณะในเกือบทุกกิจกรรม การดําเนินงานที่เป็นอยู่
เป็นเพียงกิจกรรมการร่วมสอนในบางรายวิชาเท่านั้น
88
P S U Annual Report 2017 P S U Annual Report 2017 89 89
P S U Annual Report 2017
88