Page 15 - รายงานประจำปี ๒๕๕๘ ศูนย์องค์รวมเพื่อการศึกษาและบำบัดโรคมะเร็ง คณะแพทยศาสตร์
P. 15

15







                         ในปี  2558  ที่ผ่านมานับว่าเป็นปีของจุดเริ่มต้นการเปลี่ยนแปลงกระบวนการให้
                 บริการหลายอย่างของศูนย์องค์รวมเพื่อการศึกษาและบำาบัดโรคมะเร็ง  สาขาวิชามะเร็ง

                 วิทยา  ภาควิชาอายุรศาสตร์  ภายใต้การดำาเนินงานด้วยความแน่วแน่ในวิสัยทัศน์และ
                 มุ่งมั่นสานต่อพันธกิจการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็ง           เพื่อพัฒนาการให้บริการทาง
                 สาธารณสุขให้มีประสิทธิภาพสูงสุดผ่านการดาเนินงานและกิจกรรมในหลากหลาย
                                                                    ำ
                 รูปแบบ  ทั้งการบูรณาการองค์ความรู้ทางการแพทย์และแนวทางการปฏิบัติมาตรฐานใน

                                  ู
                 การดูแลรักษาผ้ป่วยมะเร็งให้มีความจำาเพาะเจาะจงกับปัญหาและความต้องการท่หลาก
                                                                                                     ี
                 หลายของผู้ป่วยและครอบครัว             รวมถึงการบูรณาการนำาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
                 มาใช้ร่วมกับการบริหารจัดการ           โดยการพัฒนาโปรแกรมการให้คำาปรึกษาและส่งต่อ
                 ผู้ป่วยมะเร็งหรือ E-consult ขึ้น เพื่อลดรอยต่อในการดูแลรักษาผู้ป่วย ช่วยให้การดูแล

                 รักษาผู้ป่วยมะเร็งเป็นหนึ่งเดียวกัน      รวมถึงการพัฒนาเครือข่ายผู้ดูแลผู้ป่วยมะเร็งใน
                 ภาคใต้  อันประกอบด้วยแพทย์  พยาบาลและบุคคลากรทางสาธารณสุขที่เกี่ยวข้อง  เพื่อ
                                ื
                                                            ี
                                                             ั
                 ประสานและเช่อมโยงเครือข่ายพันธมิตรท่ย่งยืนในการดูแลรักษาและเยียวยาผ้ป่วยมะเร็ง
                                                                                                 ู
                 ร่วมกันบนพื้นฐานสิทธิและศักดิ์ศรีของผู้ป่วยเป็นสำาคัญ     โดยยังคงปฏิบัติภารกิจหลัก
                 ในการให้บริการรักษาผู้ป่วยมะเร็งในคลินิกอายุรกรรมผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน การศึกษา
                 และการพัฒนาวิจัย  การเป็นแหล่งฝึกอบรมด้านมะเร็งวิทยาให้กับบุคลากรสาธารณสุข
                 และการให้บริการวิชาการแก่สังคมอย่างแข็งขันเช่นเดิม

                         ศูนย์องค์รวมเพื่อการศึกษาและบำาบัดโรคมะเร็ง  ได้ริเริ่มโครงการพัฒนาโปรแกรม

                 การให้คำาปรึกษาและส่งต่อผู้ป่วยมะเร็งหรือ E-consult ขึ้นตั้งแต่ปลายปี 2556 โดยโปรแกรม
                 ได้ถูกพัฒนาขึ้นภายใต้แนวคิดของความมีประสิทธิภาพของโปรแกรม  ความสามารถของ
                 ระบบการทำางาน  การบรรลุเป้าหมายของโปรแกรม  ความเป็นส่วนตัว  การตอบสนองต่อ
                 การให้บริการ  การติดต่อระหว่างผู้ให้บริการและผู้รับบริการ  ความเชื่อถือ  และคุณภาพ

                 ของข้อมูล  โดยมีการเปิดตัวโปรแกรมการให้คำาปรึกษาและส่งต่อผู้ป่วยมะเร็งต้นแบบนี้ครั้ง
                 แรกแก่บุคลากรทางสาธารณสุขด้านมะเร็ง  ในการประชุมวิชาการ  “Southern  Medical
                 Hematology/Oncology I : Ambulatory care in Hematology/Oncology 2015 เมอวัน
                                                                                                      ่
                                                                                                      ื
                 ที่ 22-23 สิงหาคม 2558  ณ โรงแรมไร่เลย์ ปริ๊นเซส จังหวัดกระบี่ ซึ่งได้รับความสนใจจาก
                 ผู้เข้าร่วมประชุมเป็นจำานวนมาก  ทั้งนี้โปรแกรมการให้คำาปรึกษาและส่งต่อผู้ป่วยมะเร็งถูก
                                          ำ
                 ออกแบบมาให้สามารถทางานทดแทนระบบการส่งต่อหรือขอคำาปรึกษาโดยระบบเอกสาร
                 ส่งต่อผู้ป่วยที่ให้ผู้ป่วยถือมาติดต่อโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ด้วยตนเอง อาจสามารถ
                                                                                 ำ
                                                                               ี
                                                                                        ี
                                                                                                         ี
                 กล่าวได้ว่าโปรแกรมการให้คาปรึกษาและส่งต่อผ้ป่วยมะเร็งน้ทาหน้าท่เสมือนสะพานท่จะ
                                                                   ู
                                               ำ
                 ช่วยให้ผ้ป่วยสามารถเข้าถึงบริการท่จำาเป็นของโรคได้อย่างรวดเร็วและมีความปลอดภัย
                          ู
                                                       ี
                 มากขึ้น       เป็นสร้างระบบการให้บริการที่เน้นผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางร่วมกันโดยการเชื่อม
                 รอยต่อระหว่างโรงพยาบาลทั่วไปกับโรงพยาบาลเฉพาะทาง  เป็นการเพิ่มศักยภาพและ
                 สมรรถนะในดูแลรักษาผู้ป่วยให้กับทีมแพทย์  พยาบาลและบุคลากรทางสาธารณสุขใน
                 ทุกระดับ ทั้งระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ ให้สามารถดูแลผู้ป่วยมะเร็งในความดูแล
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20