Page 9 - รายงานประจําปี ๒๕๕๙ ผลการดําเนินงานด้านการวิจัยและบัณฑิตศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนา
P. 9
รูปที่ 11 ระดับความพงพอใจของผูรับบริการสำนักวิจยและพัฒนาในดานตางๆ ประจำป 2559
ึ
ั
8. การบริหารจัดการงบประมาณ
ั
สำนักวจัยและพฒนา ไดรับจัดสรรงบประมาณเพอใชในการบริหารงานภายในและบริหารงานกิจกรรมตางๆ ภายใต
ิ
ื่
กรอบภารกิจที่สำนักวิจัยและพัฒนารับผิดชอบ จากงบประมาณแผนดิน งบประมาณเงินรายได และกองทุนวจัยมหาวิทยาลัย
ิ
นอกจากนี้ ยังไดงบประมาณบางสวนจากหนวยงานภายนอก เชน สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) ที่นำมาใชในการ
จัดกิจกรรมสงเสริมสนับสนุนนักวิจยในรูปแบบตางๆ เชน การประชมสัมมนา การอบรมเชงปฏบัตการ ทั้งนี้ ฝายการเงินจะม ี
ิ
ุ
ิ
ิ
ั
ื่
การรายงานผลการใชจายงบประมาณอยางเปนระบบทุกเดือน เพอใหผูบริหารและบุคลากรสามารถตรวจสอบไดวาเปนไปตาม
ั
ี่
ิ
ี้
ี
แผนงานหรือวตถุประสงคทวางไว นอกจากนยังใหความสำคัญกับการสงเสรมใหบุคลากรมีความรูเรื่องกฎระเบยบทางดาน
ี่
ี
ิ
การเงิน ซึ่งเปนเรื่องทตองอาศัยความละเอยดรอบคอบเปนอยางมากในการดำเนนการใหถูกตอง เพื่อลดความผิดพลาดซึ่งอาจ
เกิดผลกระทบทางลบแกองคกรได
ิ
ั
ิ
ในป 2559 สำนกวจัยและพัฒนามีการเจริญเติบโตและไดรับภารกจเพิ่มขึ้น ในขณะที่งบประมาณที่ไดรับจัดสรรคงท ี่
หรือไดรับเพมขึ้นเพียงเลกนอย ซึ่งเมอพิจารณาจากการใชจายงบประมาณประจำปของสำนักวจัยและพัฒนาแลว (รูปที่ 13)
ิ
ิ่
ื่
็
ั
พบวางบประมาณในสวนของเงินรายไดสำนกวจัยและพัฒนา ซึ่งเปนงบประมาณในสวนของเงินเดือนบุคลากรและ
ิ
ี
งบดำเนินการ มสัดสวนการใชจายมากกวางบประมาณที่ไดรับ
รูปท 12 สัดสวนการใชจายงบประมาณ (รอยละ) ประจำป 2557-2559 จำแนกตามแหลงทน
ุ
ี่
สำนักวิจัยและพัฒนา 8