Page 67 - รายงานประจําปี ๒๕๔๘-๕๒ ผลการดําเนินงานด้านการวิจัยและบัณฑิตศึกษา
P. 67
10.5 ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์
การพัฒนาคุณภาพของการบริการทั้งทางด้านระบบคุณภาพตามมาตรฐานสากล และความพึงพอใจของผู้รับ
บริการ
- ปี 2546 ได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO 9001:2000
- ปี 2547 ได้รับการรับรองมาตรฐาน มอก.17025-2543 ห้องปฏิบัติการ OES
- ปี 2548 รักษามาตรฐาน ISO 9001:2000 และเตรียมการพัฒนาสู่มาตรฐาน มอก.17025-2543
- ปี 2549 ห้องปฏิบัติการ OES ได้รับการรับรองมาตรฐาน มอก.17025-2548 และขยายขอบข่าย 2 รายการ
- ปี 2551 ห้องปฏิบัติการสอบเทียบ Micropipette ได้รับการรับรองมาตรฐาน มอก.17025-2548
- ปี 2552 ปรับระบบเข้าสู่มาตรฐาน ISO 9001:2008
ผลงานวิจัย / ผลงานนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ ของบุคลากรศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์
ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ สนับสนุนให้บุคลากรทำงานวิจัยอันเกิดจากทักษะประสบการณ์ในการปฏิบัติงานด้าน
เครื่องมือวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และการซ่อม/สร้างเครื่องมือ ซึ่งเป็นส่วนสำคัญในการช่วยแก้ปัญหาให้กับนักศึกษา คณาจารย์
นักวิจัยทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย โดยนวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์ของบุคลากรศูนย์เครื่องมือฯ มีดังนี้
- เครื่องจ่ายแรงดันกระแสตรง (DC Power Supply)
- ตู้ควบคุมอุณหภูมิ (Incubator)
- เครื่องบันทึกข้อมูลอุณหภูมิและความชื้น (Temperature and Humidity Data Logger) 61
- เครื่องกวนสารละลาย (Dispersing and Mixing)
- เครื่องวิเคราะห์หาเสถียรภาพต่อการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่นของ Fatty Acid Methyl Esters (FAME)
o
ที่อุณหภูมิ 110 C
- เครื่องสร้างแรงดันมาตรฐานสำหรับตรวจสอบการทำงานของ pH Meter
- เครื่องควบคุมอุณหภูมิแบบดิจิตอลอเนกประสงค์ (Temperature Controller)
- อ่างควบคุมอุณหภูมิแบบดิจิตอล (Water Bath)
- เครื่องควบคุมอุณหภูมิแบบดิจิตอลหลุมความร้อน (Heating Block)
- เตาเผาอุณหภูมิสูงแบบดิจิตอล – ขนาดเล็ก (Furnace 600) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ : เส้นทางสู่มหาวิทยาลัยวิจัย
- เตาเผาอุณหภูมิสูงแบบดิจิตอล (Furnace 800)
- เครื่องบันทึกข้อมูลและอุณหภูมิและความชื้น (Temperature and Humidity Data Logger ผ่าน Wireless LAN)
- ระบบจับเวลาสำหรับการจอดรถยนต์ (Count – Down Timer for Car Parking)
ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์กับการให้บริการวิชาการ
- การให้บริการทดสอบทางด้านอาหารฮาลาล
- การสอบเทียบทางด้าน Micropipette
- การบริหารจัดการรายการเครื่องมือวิจัยทางวิทยาศาสตร์ให้สามารถรองรับตามศักยภาพของเครื่องมือวิจัยที่มีอยู่
- การให้บริการ ซ่อม/สร้างเครื่องวิจัย
- การให้บริการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการด้านเครื่องมือวิจัยทางวิทยาศาสตร์