Page 10 - Operation-Manual-PSUKB
P. 10
2
รวมถึงนโยบายร่วมกับบัณฑิตวิทยาลัยที่ต้องการให้นักศึกษาที่ส าเร็จการศึกษาในแต่ละปีเป็นผู้น าเข้า
ข้อมูลวิทยานิพนธ์หรือสารนิพนธ์ด้วยตนเอง โดยเจ้าหน้าที่บัณฑิตวิทยาลัยสามารถตรวจสอบไฟล์ผ่าน
ระบบคลังปัญญามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้ ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ผู้ปฏิบัติงานจึงได้จัดท า
คู่มือฉบับนี้ขึ้น เพื่อเป็นแนวทางการดูแลระบบและการน าเข้าข้อมูลที่เป็นมาตรฐานต่อไป
วัตถุประสงค์
1. เพื่อใช้เป็นแนวทางในการบริหารจัดการคลังปัญญามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ื่
2. เพอเป็นคู่มือส าหรับนักศึกษาและบุคลากรในการน าเข้าข้อมูลสู่คลังปัญญามหาวิทยาลัย
สงขลานครินทร์
3. เพื่อเป็นคู่มือส าหรับบรรณารักษ์ในการดูแลระบบและสามารถปฏิบัติงานแทนกันได้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. มีแนวทางการบริหารจัดการคลังปัญญามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2. นักศึกษาและบุคลากรสามารถน าเข้าข้อมูลเข้าสู่ระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. บรรณารักษ์สามารถท างานทดแทนกันเมื่อผู้รับผิดชอบไม่สามารถปฏิบัติได้หรือลาออก
ขอบเขต
คู่มือการปฏิบัติงาน การจัดการสารสนเทศคลังปัญญามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ฉบับนี้
กล่าวถึงขั้นตอนการจัดการสารสนเทศในคลังปัญญามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยแบ่งออกเป็น 2
ส่วนคือ
1. ส่วนผู้ใช้ระบบ ได้แก่ การบันทึกข้อมูล การอัพโหลดไฟล์ การยืนยันข้อมูล การแก้ไข
เมทาดาตา
ิ่
ิ่
2. ส่วนผู้ดูแลระบบ ได้แก่ การเพมชุมชน การเพมคอลเล็กชั่น การจัดการสมาชิก และ
การท า Item Mapper
นิยามศัพท์
ิ
คลังปัญญามหาวทยาลัยสงขลานครินทร์ (PSU Knowledge Bank) คือ แหล่งรวบรวม
องค์ความรู้ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้แก่ วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ รายงานการวิจัย บทความ
ื่
วิจัย ต าราคู่มือการปฏิบัติงาน รวมถึงผลงานอนๆ ซึ่งเป็นผลงานของอาจารย์ นักศึกษาและบุคลากร
ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์