Page 31 - ชาน้องร้อยเรือภูมิปัญญาเพลงกล่อมเด็กภาคใต้สู่การขับร้องประสานเสียง
P. 31

31
























                                                   เพลงโอละเหโอละชา



                                                                                                            ั
                       เพลงโอละเหโอละชาไดรับแรงบันดาลใจจากเพลงฝนทะเลมืดมาของนางคำแกว พวงแกว แมเพลงจังหวด
                                                                                                            
               นราธิวาส บทประพันธอยูในรูปแบบแคนนอน (Canon) ไมมีเครื่องดนตรีบรรเลงประกอบและขับรองเปน
               ภาษาไทยถิ่นใต แรงบันดาลใจของเพลงนี้ เปนเพลงกลอมเด็กที่พบในอำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส แมเพลงขับ
                            
               รองดวยภาษาตากใบ(เจะเห) เปนภาษาตระกูลไทกลุมตะวันตกเฉียงใต กระจายตัวอยูในจังหวัดปตตานี จังหวัด

               นราธิวาส และพื้นที่บางสวนในประเทศมาเลเซียซึ่งสำเนียงจะแตกตางกับภาษาถิ่นใตภาษาตากใบมีความคลายกบ
                                                                                                            ั
                                         ี
               ภาษาสุโขทัยจัดใหอยูในกลุมเดยวกับภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาอูทองและภาษาไตเหนือ-พวน นอกจากน้ขอสังเกต
                                                                                                     ี
                                                                                                            
               อีกอยางหนึ่งเกี่ยวกับที่มาของภาษาตากใบซึ่งในเพลงกลอมเด็กฝนทะเลมืดมาจะรองขึ้นดวยคำวา
               “โอละเห โอละชา”เหมือนกับเพลงกลอมเด็กภาคกลาง ที่ขึ้นตนดวย “โอละเห” เชนกัน แตกตางกับเพลงชานอง
               ของภาคใตที่สวนใหญจะขึ้นตนดวย “ฮาเออ” และลงทายดวย “เหอ”
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36