Page 4 - ลายผ้าเอกลักษณ์ประจำจังหวัดนราธิวาส พิกุลพลอย
P. 4
๑
๑
ลาย “พิกุลพลอย”
้
ลายผาประจ าจังหวัดนราธิวาส
๑. ประวัติความเป็นมา
ในปี พ.ศ. 2516 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
ี่
ได้เสด็จแปรพระราชฐานมาประทบแรม ณ พระต าหนักทกษิณราชนิเวศน์ ทตั้งอยู่บริเวณ
ั
ั
บ้านเขาตันหยง ต าบลกะลุเหนือ อ าเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส และเสด็จเยี่ยมเยียน
ราษฎรในพื้นท ทรงเห็นว่าสตรีในหมู่บ้านมีเวลาว่างมาก ยังไม่มีอาชีพเสริมหลังว่างจากการทางาน
ี่
หลัก คือ ท านาและกรีดยาง จึงมีพระราชด าริส่งเสริมให้ราษฎรทอผ้าเพื่อเป็นอาชีพเสริมเพิ่มรายได้
และทรงจัดตั้งกลุ่มทอผ้ากลุ่มแรกทบ้านโคกเคียน โดยมีช่างทอจากเกาะยอ จังหวัดสงขลา
ี่
และช่างทอจากต าบลนาหมื่นศรี จังหวัดตรังมาเป็นครูสอน จากนั้นได้ขยายผลไปยังบ้านใหญ่
วัดพระพุทธ ต าบลพร่อน อ าเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส เริ่มจากการทอผ้าพื้นธรรมดา
ผ้า 2 ตะกอ 4 ตะกอ และ 6 ตะกอ จนสามารถทอผ้ายกดอกได้ ซึ่งมีลายผ้าพื้นฐาน เช่น
ลายก้นหอย ลายลูกแก้ว ลายดอกสตางค์ ลายดอกพิกุล ลายราชวัตร ฯลฯ และทรงรับราษฎร
ี่
ททอผ้ามาเป็นสมาชิกโครงการส่งเสริมศิลปาชีพในพระราชด าริ และมีหน่วยงานราชการเข้ามา
สนับสนุนอย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาในด้านลวดลายใหม่ ๆ กี่ทอผ้า ตลอดจนบุคลากร
หรือครูช่างทอผ้าที่มีความช านาญ เป็นต้น
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 จังหวัดนราธิวาสได้จัดสรรงบประมาณให้ส านักงาน
วัฒนธรรมจังหวัดนราธิวาส เพื่อด าเนินกิจกรรมออกแบบและถ่ายทอดลายผ้าทอ ภายใต้โครงการ
ยกระดับและเพิ่มขีดความสามารถของผู้ประกอบการ SME และ OTOP ประเภทของใช้ ของท ี่
ระลึก ของตกแต่งเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน (AEC) โดยช่างทอทมีความเชี่ยวชาญ
ี่
และมากความสามารถในระดับครูช่างจากศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง อันเนื่องมาจาก
พระราชด าริ จังหวัดนราธิวาส ได้คิดค้นและออกแบบลายผ้าและเป็นวิทยากรอบรมการทอให้แก่
กลุ่มทอผ้า จ านวน ๒ กลุ่ม คือ กลุ่มทอผ้าบ้านทรายขาวและกลุ่มทอผ้าบ้านตอหลัง ต าบลไพรวัน
อ าเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส ภายใต้แนวคิด ผ้าทอลายใหม่ทไม่ซ้ าลายจากผ้าทออื่น ๆ ทงใน
ี่
ั้
ี่
และต่างพื้นท แต่ก็ยังคงรูปแบบความสวยงามตามสไตล์ผ้าทอมือและเป็นเอกลักษณ์หนี่งเดียว
ของจังหวัดนราธิวาส คือ“ผ้าทอ 7 ตะกอ 12 เท้าเหยียบ” ที่มีลายผ้า 4 ลาย ประกอบด้วย