Page 34 - ศิษย์เก่าดีเด่น ปี ๖๓
P. 34
36
ประวัติกำรท�ำงำน
พ.ศ.2553-2554 ผู้บริหาร Leancom Oy (ประเทศฟินแลนด์)
พ.ศ.2551-2554 ผู้บริหารตลาดเอเชีย Catalyst (ประเทศเยอรมัน)
พ.ศ.2555-2560 รองผู้อ�านวยการส�านักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
(องค์การมหาชน)
พ.ศ.2559-2562 สมาชิกกลุ่มที่ปรึกษา MAG ของ UNDESA- Internet
Governance Forum/ Fellow ของ Internet Engineering
Taskforce / สมาชิกกลุ่มที่ปรึกษา PAG ของ UN Global Pulse/
ประธานคณะท�างานด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
(Working Group on E-Commerce) ของการเจรจาความตกลง
หุ้นส่วนทาง เศรษฐกิจระดับภูมิภาค (RCEP) กระทรวงพาณิชย์
พ.ศ.2560-ปัจจุบัน ที่ปรึกษาปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
ผลงำนและเกียรติคุณเด่น
- จัดตั้ง National Focal Point ของประเทศ
- ริเริ่มโครงการมาตรฐานข้อมูล Tax Invoice โดยท�างานร่วมกับประเทศญี่ปุ่น
- ผลักดันมาตรฐาน The Fisheries Language for Universal Exchange (FLUX)
อันเป็นแนวทางส�าคัญในการด�าเนินการที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาการท�าประมง
ผิดกฎหมาย หรือ IUU
- ประธานในคณะ WGEC – Working Group on Electronic Commerce
ภายใต้กรอบการเจรจาพันธมิตรการค้า RCEP พ.ศ.2559-ปัจจุบัน
- คณะกรรมการ MAG – Multi Stake Holder Advisory Group วาระปี 2560-2562
- กรรมการในคณะ PAG – Privacy Advisory Group ของ UN Global Pulse
วาระปี 2560-2562
จากผลงานและประสบการณ์ข้างต้น ท�าให้ประจักษ์ได้ว่า คุณวรรณวิทย์ อาขุบุตร เป็นผู้
เชี่ยวชาญด้านกิจการอินเตอร์เน็ต ด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ด้านเทคโนโลยีความมั่นคง
ปลอดภัย ด้านการพัฒนามาตรฐานข้อมูล ด้านการบริหารโครงการและด้านความ สัมพันธ์
ระหว่างประเทศ มีประสบการณ์ท�างานในบริษัทเทคโนโลยีชั้นสูงของฟินแลนด์และเยอรมัน ผล
งานเมื่อด�ารงต�าแหน่งรองผู้อ�านวยการส�านักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การ
มหาชน) หรือETDA ได้แก่ การวางแผนและน�าเทคโนโลยีดิจิทัลไปใช้ในการเปลี่ยนผ่าน
เศรษฐกิจของไทยสู่เศรศฐกิจดิจิทัลตามนโยบายไทยแลนด์ 4.0 นอกจากนี้เคยเป็นหัวหน้าคณะ
ผู้แทนไทยในการประชุม ITU-WTSA UN/CEFACT และ AFACT ปัจจุบันเป็นที่ปรึกษาปลัด
กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม และเป็นผู้แทนของไทยในการด�ารงต�าแหน่งประธาน
�
คณะทางานด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของการเจรจาความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับ
ภูมิภาค (RCEP) ซึ่งเป็นกรอบการเจรจาการค้าระหว่างประเทศของสมาชิก 16 ประเทศ